ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>

สุนทรียศาสตร์จีน

มวลชนในฐานะที่เป็นวีรบุรุษต่างๆ ในภาพเขียน

แต่เหมาได้เพ่งจุดสนใจลงไปบนมวลชน – ทั้งในส่วนของความเป็นผู้ดู และในฐานะที่เป็นตัวแทนหรือตัวแสดงต่างๆ ของการแปรเปลี่ยนของพวกเขาเอง อันนี้ต้องการให้มวลชนเป็นพื้นฐานและแหล่งต้นตออันไม่มีวันหมดสิ้นของเนื้อหาเรื่องราว และต้องการสไตล์ใหม่อันหนึ่งที่เขียนภาพมวลชนในฐานะที่เป็นวีรบุรุษต่างๆ ของแรงบันดาลใจ มิใช่เหยื่อที่ต้องทนทุกข์กับความเจ็บปวด (ดั่งในงานเขียนของหลู่ซิ่น)

    ช่วงระหว่างวันเวลาเหล่านี้ ได้ทำให้เกิดกรอบโครงสำหรับความเข้าใจเชิงสุนทรีย์และการถกเถียง ซึ่งได้ยกย่องสรรเสริญและวิจารณ์ในบทวิพากษ์ต่างๆ เกี่ยวกับผลงานศิลปะ สิ่งพิมพ์รัฐบาล ที่รัฐบาลได้สถาปนาขึ้นมาในฐานะที่เป็นแบบจำลองต่างๆ ของงานศิลปะ อะไรก็ตามที่เบี่ยงเบนไปจากนี้ ถือว่าเป็นอันตราย

อ่านต่อ >>>

พิธีกรรมและดนตรี ในแนวคิดของขงจื่อ
ซุนซี: ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับระเบียบแบบแผน เสี้ยวทง: ผู้ปลดปล่อยดนตรีจากจริยศาสตร์ (ค.ศ.530)
สุนทรียศาสตร์ถูกครอบงำโดยชนชั้นสูง
วังเว่ย: งานจิตรกรรมจักต้องสอดคล้องกับ “ป้ากัว” หรือ แผนผังจักรวาล
ซังฮี: แนวทางหลัก 6 ประการสำหรับการตัดสินจิตรกรรม
การสังเคราะห์ในราชวงศ์ซ้อง(the Song Synthesis)
เหมาเซตุง, หลู่ซิ่น: ศิลปะรับใช้การปฏิวัติ
มวลชนในฐานะที่เป็นวีรบุรุษต่างๆ ในภาพเขียน
การปฏิวัติวัฒนธรรม (the Cultural Revolution) ค.ศ.1966–1976
ปล่อยให้ดอกไม้ร้อยดอกเบ่งบาน โรงเรียนร้อยแห่งแข่งขัน
สุนทรียศาสตร์จีน (Chinese aesthetics)
นำมาจาก EAST ASIAN AESTHETICS AND NATURE David Landis Barnhill

ศิลปะไม่ใช่การอธิบายเกี่ยวกับความจริงของผิวหน้า
กวีที่ยิ่งใหญ่ได้บรรลุถึงเอกภาพแห่งทวินิยม
มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ วัฒนธรรมมนุษย์จึงไม่แยกจากธรรมชาติ
สุนทรียศาสตร์ชาวจีนตั้งอยู่บนฐานความหมายที่สาม (ความเป็นเอกภาพกับธรรมชาติ)
 

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย