ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>

สุนทรียศาสตร์จีน

ปล่อยให้ดอกไม้ร้อยดอกเบ่งบาน โรงเรียนร้อยแห่งแข่งขัน

ในปี ค.ศ. 1953, Zhou Yang (*)ได้กล่าวซ้ำการสนับสนุนของเหมาเกี่ยวกับแนวคิดสัจจะสังคมนิยม นอกจากนี้ยังได้ประกาศถึงการเพิ่มเติมความมั่งคั่งให้กับขนบจารีตจีนในเชิงวัตถุวิสัย โดยการใช้ประโยชน์จากศิลปะและสุนทรียศาสตร์ต่างประเทศ เขาสรุปโดยการให้ความสนับสนุน ”การแข่งขันอย่างอิสระในด้านรูปแบบทางศิลปะอันหลากหลาย”(โซเวียตและจีน) และแถลงว่า หลักการชี้นำของเหมาเซตุงคือ”ปล่อยให้ดอกไม้ร้อยดอกเบ่งบาน โรงเรียนร้อยแห่งแข่งขัน("Let a hundred flowers bloom and a hundred schools contend.")

    (*)Zhou Yang (November 7, 1908 - July 31, 1989, Wade-Giles Chou Yang) was a Chinese literary theorist and Marxist thinker, active from the founding of the League of the Left-Wing Writers in 1930. His report On the Military Tasks of Philosophy and Social Science Workers, delivered to Mao Zedong in 1963, was one of the catalysts for the Cultural Revolution.

    การถกเถียงกันในเรื่องสุนทรียศาสตร์แนวจารีตและการนำเอาส่วนประกอบจากต่างประเทศรวมเข้ามาในศิลปะจีนในช่วงต้นศตวรรษที่ 21 การถกกันดังกล่าวได้เพ่งจุดสนใจลงบนความเหมาะสมกับวัฒนธรรมจีนและการวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับกระบวนทัศน์และอภิมหาคำบรรยายยูโร-อเมริกันที่เกี่ยวกับความเป็นสากล “วัฒนธรรมในฐานะที่เป็นความบันเทิง(เรื่องของเวลาว่าง ความไม่รีบร้อน)("culture as leisure,") และการฟื้นคืนสภาพอาการไข้ของเหมา และลัทธิชาตินิยมใหม่”

อ่านต่อ >>>

พิธีกรรมและดนตรี ในแนวคิดของขงจื่อ
ซุนซี: ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับระเบียบแบบแผน เสี้ยวทง: ผู้ปลดปล่อยดนตรีจากจริยศาสตร์ (ค.ศ.530)
สุนทรียศาสตร์ถูกครอบงำโดยชนชั้นสูง
วังเว่ย: งานจิตรกรรมจักต้องสอดคล้องกับ “ป้ากัว” หรือ แผนผังจักรวาล
ซังฮี: แนวทางหลัก 6 ประการสำหรับการตัดสินจิตรกรรม
การสังเคราะห์ในราชวงศ์ซ้อง(the Song Synthesis)
เหมาเซตุง, หลู่ซิ่น: ศิลปะรับใช้การปฏิวัติ
มวลชนในฐานะที่เป็นวีรบุรุษต่างๆ ในภาพเขียน
การปฏิวัติวัฒนธรรม (the Cultural Revolution) ค.ศ.1966–1976
ปล่อยให้ดอกไม้ร้อยดอกเบ่งบาน โรงเรียนร้อยแห่งแข่งขัน
สุนทรียศาสตร์จีน (Chinese aesthetics)
นำมาจาก EAST ASIAN AESTHETICS AND NATURE David Landis Barnhill

ศิลปะไม่ใช่การอธิบายเกี่ยวกับความจริงของผิวหน้า
กวีที่ยิ่งใหญ่ได้บรรลุถึงเอกภาพแห่งทวินิยม
มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ วัฒนธรรมมนุษย์จึงไม่แยกจากธรรมชาติ
สุนทรียศาสตร์ชาวจีนตั้งอยู่บนฐานความหมายที่สาม (ความเป็นเอกภาพกับธรรมชาติ)
 

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย