ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>

หุ่นกระบอก

นาวสาวนภัสวรรณ บุญนิธี หลักสูตรและการสอน รุ่น 7

หุ่นจางวางต่อ

   หุ่นกระบอกของจางวางต่อ ณ ป้อมเพชร ได้รับความนิยมมากเช่นเดียวกับหุ่นกระบอกของหม่อมราชวงศ์เถาะ และหุ่นกระบอกของพระองค์เจ้าสุทัศน์นิภาธร เมื่อจางวางต่อชราภาพก็เป็นระยะเวลาที่ไม่มีการแสดงหุ่นกระบอกแล้ว  การแสดงหุ่นกระบอกคณะจางวางต่อครั้งสุดท้ายคือ  การแสดงเรื่อง “ไชยเชษฐ์” ถวายที่วังพระวิมาดา เธอฯกรมพระสุธาสินีนาฎ หลังจากนั้นหุ่นกระบอกทั้งโรงก็ถูกเก็บลงหีบ กระทั่งจางวางต่อถึงแก่กรรมเมื่ออายุ 86 ปี หุ่นกระบอกจางวางต่อจึงตกมาเป็นสมบัติของคุณเติมศรี (ณ ป้อมเพชร) วีระไวทยะ ผู้เป็นหลาน

หุ่นไทย
สมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ.2121-2246)
สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ.2246-พ.ศ.2310)
สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ.2310-พ.ศ.2325)
สมัยรัตนโกสินทร์
หุ่นของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
กำเนิดของหุ่นกระบอก
หุ่นนายวิง
หุ่นจางวางต่อ
หุ่นจางวางทั่ว
หุ่นกระบอกนายเปียก
หุ่นนายเบี้ยว
หุ่นกระบอกนายปั้น
ลักษณะหุ่นกระบอก
ศีรษะหุ่น
ลำตัวหุ่นกระบอก
มือของหุ่นกระบอก
เสื้อผ้าและเครื่องประดับของหุ่นกระบอก
วิธีเชิดหุ่นกระบอก
การโหมโรง
การแสดง
การบรรเลงและการขับร้อง
การพากย์หุ่น
โรงหุ่นกระบอก
ฉากหุ่นกระบอก
เครื่องประกอบฉาก
เรื่องหุ่นกระบอกที่นิยมแสดง
โอกาสในการแสดงหุ่นกระบอก
การบูชาครูก่อนการแสดงหุ่น
การบูชาครูของวงปี่พาทย์ก่อนการแสดงหุ่น
ความเชื่อและประเพณีในการแสดงหุ่น
หุ่นกระบอกคณะครูชื้น สกุลแก้ว
หุ่นกระบอกของจักรพันธุ์ โปษยกฤต
หุ่นกระบอกกรมศิลปากร
หุ่นกระบอกคณะรอดศิรินิลศิลป์
หุ่นกระบอกสมุทรสงคราม
หุ่นกระบอกคณะแม่เชวง อ่อนละม้าย
หุ่นกระบอกเพชรบุรี
หุ่นกระบอกคณะเพชรหนองเรือ
อัตลักษณ์
วิกฤตของหุ่นกระบอกในปัจจุบัน
แนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูหุ่นกระบอก

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย