ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>

ปรัชญาโลกตะวันตก

ธีรวัส บำเพ็ญบุญบารมี
มหาบัณฑิตพุทธศาสนามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

ปรัชญาเป็นศาสตร์ที่สามารถเข้ากับศาสตร์อื่น ๆ ได้เป็นอย่างดียิ่ง เช่น เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง เป็นต้น และปรัชญาก็เป็นแนวความคิดที่คิดไว้ครั้งแรก ซึ่งเป็นความรู้ที่สืบค้นมมาแล้วหายจากความสงสัย แนวคิดที่คิดไว้แต่แรก ต่อมาเกิดคิดค้นจนเกิดทฤษฎีที่เป็นความจริงตามหลักการของวิทยาศาสตร์แล้วย่อมเกิดเป็นวิชาต่าง ๆ และใช้คำเรียกที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เช่น วิชาการแพทย์อย่างสมบูรณ์ที่พิสูจน์ได้แล้ว อันมีเงื่อนไขมาจากปรัชญานั่นเอง และถิ่นกำเนิดของวิชานี้ที่เราใช้เรียนก็นำมาจากแนวความคิดของชาวกรีกยุคแรก ๆ เนื้อหาของวิชาปรัชญาไม่มีขอบเขตจำกัด หมายความว่า ปรัชญามีศักยภาพสูง พอที่จะศึกษาวิทยาการทุกสาขา และในทางปฏิบัติปรัชญาบุกเบิกวิทยาการภาคทฤษฎีหลายสาขาก็เฉพาะในยุคกรีกโบราณ ต่อมาวิทยาการอื่น ๆ พัฒนาจนแยกเป็นวิชาอิสระจนกระทั้งถึงปัจจุบัน

ปรัชญา คือ โลกทัศน์ของปัจเจกชน วิชาปรัชญาตะวันตกจึงว่าด้วย ประมวลโลกทัศน์ ของนักปรัชญาตะวันตกทุกสมัย เป็นการพรรณาถึงความคิด และความรู้เชิงปรัชญาตั้งแต่ยุคแรก ๆ จนถึงนักปรัชญายุคปัจจุบัน การศึกษาวิชานี้ช่วยให้เราเรียนรู้ทัศน์ต่าง ๆ ในเวลาเดียวกันก็ผลิตทัศน์ที่ไม่ซ้ำแบบใคร และสิ่งที่เป็นประโยชน์คือสามารถนำวิธีคิดแบบปรัชญาไปประยุกต์แก้ปัญหาของตน และสร้างหลักปรัชญาประจำตนได้ในที่สุด

 

แนวความคิดของนักปรัชญายุคโบราณ
คำนิยามของปรัชญา
ธาเลส (Thales)
อานักซิมานเดอร์ (Anaximander)
อานักซิเมเนส (Anaximenes)
ไพธากอรัส (Pythagoras)
เฮราคลีตุส (Heraclitus)
เซโนฟาเนส (Xenophanes)
ปาร์มีนิเดส (Parenides)
เซโนแห่งเอเลีย (Zeno of elea)
เอมเปโดเคลส (Empedocles)
อานักซาโกรัส (Anaxagoras)
เดมอคริตุส (Democritus)
โปรแทกอรัส (Protagoras)
โสคราตีส (Socrates)
พลาโต้ (Plato)
อาริสโตเติ้ล (Aristotle)
เซนต์ ออกัสติน (St. Augustine ค.ศ. 354-430)
มาเคียเวลลี่ (Nicolo Machiavelli ค.ศ. 146-1527)
โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes 1588-1679)
จอหน์ ลอค (John Locke 1632-1714)
รุสโซ (Jean – Jacqnes Rousseau 1712-1778 )
เบ็นธัม (Jereny Bemtham 1748-1832)
มิลล์ (J.S.Mill 1806-1873)
มาร์กซ์ (Karl Marx 1818-1883)

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย