สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

การเมืองการปกครอง

ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม

ประชาชนกับบทบาททางการเมือง

ความหมายของสื่อมวลชน

สื่อมวลชน คือ สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ประกาศข่าว ความรู้และความคิดเห็นให้แก่ผู้สนใจไปพร้อมกัน จะทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งไม่ได้ เช่น เสนอแต่ข่าวไม่เสนอความคิดเห็น นอกจากนั้นสื่อมวลชนยังมีหน้าที่เป็น Watch Dog หรือสุนัขเฝ้าบ้าน อันหมายถึงการเฝ้าผลประโยชน์ของรัฐบาลของประชาชน และต้องเป็นการเฝ้าด้วยความเป็นธรรมด้วย หรือสื่อมวลชนคือผู้เสนอข่าวคราวและความคิดเห็นต่อประชาชน และหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ทั้ง 4 อย่างนี้รวมกันเรียกว่า สื่อมวลชน ตามที่นักปราชญ์ได้ให้ความหมายของสื่อมวลชนที่กล่าวมาแล้วข้างต้นนั้นพอจะสรุปองค์ประกอบที่สำคัญของสื่อมวลชนได้ ดังนี้

1. ผู้เสนอข่าวสาร
2. เนื้อหาสาระของข่าวสาร
3. ชนิดหรือช่องทางการสื่อสาร
4. ผู้รับข่าวสาร

ประเภทของสื่อมวลชน

กมล สมวิเชียร ได้แบ่งประเภทของสื่อมวลชนได้กว้าง ๆ เป็น 2 ประเภท คือ

1. ประเภทสิ่งพิมพ์ (Printed Media) ได้แก่ หนังสือพิมพ์รายวัน วารสาร นิตยสาร เป็นต้น
2. ประเภทแสงเสียง (Electronic Media) ได้แก่ วิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ เป็นต้น

สิทธิหน้าที่ของประชาชน (Right–Obigation of People)
ความสำนึกทางการเมือง
เสรีภาพทางการเมือง (Political Liberty)
สื่อมวลชน (Mass Media)
ความหมายของสื่อมวลชน
บทบาทของสื่อมวลชน
หน้าที่ของสื่อมวลชน
กลุ่มผลประโยชน์ (Interest Group)
ความหมายของกลุ่มผลประโยชน์
ประเภทของกลุ่มผลประโยชน์
วัตถุประสงค์ของกลุ่มผลประโยชน์
พฤติกรรมของกลุ่มผลประโยชน์
มติมหาชน (Public Opinion)
ปัจจัยที่เอื้อต่อมติมหาชน
ความสำคัญของมติมหาชน
อุปสรรคของการแสดงมติมหาชน

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย