สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

การเมืองการปกครอง

ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม

ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ

      โดยหลักธรรมชาติมนุษย์ทุกคนจะมีความต้องการขั้นพื้นฐานเหมือนกัน คืออายุ วรรณะ สุขะ พละ หรือต้องการความสุขและเกลียดทุกข์ แต่ก็มีปัญหาอยู่ว่า ทำอย่างไรจึงจะสนองความต้องการดังกล่าวนั้นได้ คำตอบก็อาจจะแตกต่างกันออกไปตามแนวทางหรือทฤษฎีของนักคิดผู้ชำนาญการเฉพาะทาง ผู้ชำนาญทางการเมืองการปกครองอาจชี้แนะว่า ถ้าต้องการมีความสงบสุขก็อย่างได้ทะเลาะวิวาทกัน ขอให้ช่วยกันสร้างสรรค์สังคมเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกันและอยู่กันอย่างฉันท์พี่น้อง ความคิดดังกล่าวก็กลายมาเป็นทฤษฎีการเมืองในเวลาต่อมา แต่ผู้ชำนาญการทางเศรษฐกิจอาจจะแย้งว่า ถ้ามนุษย์ต้องการมีความสุขในสังคม มนุษย์จะต้องมีอยู่มีกินอย่างพอเพียง มีการแบ่งสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเหมาะสม จะเห็นได้ว่าแม้ความคิดในทิศทางการแสวงหาความสุขจะต่างกันก็ตาม แต่เป้าหมายสูงสุดก็คือต้องการบำบัดทุกข์บำรุงสุขของคนในสังคมนั่นเอง

แนวความคิดทางการเมือง
ประเภทของลัทธิการเมือง
ระบบประชาธิปไตย
หลักการของระบอบประชาธิปไตย
องค์สามของประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นอุดมคติ
ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นระบบการเมืองการปกครอง
ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นวิถีชีวิต
ระบบเผด็จการ
ลักษณะสำคัญของระบบเผด็จการเบ็ดเสร็จ
แนวความคิดทางเศรษฐกิจ
ประเภทของลัทธิเศรษฐกิจ
หลักสำคัญของระบบทุนนิยม
แบบสังคมนิยม (Socialism)
หลักสำคัญของระบบสังคมนิยม
ประเภทของระบบสังคมนิยม

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย