ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม อารยธรรม (3)

» ย้อนกลับ หน้าถัดไป


💠 ประเพณีให้ทานไฟ
การให้ทานไฟ เป็นประเพณีต้นแบบเฉพาะของพุทธศาสนิกชนชาวจังหวัดนคร ศรีธรรมราช ที่ได้ปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน

💠 เครื่องแขวนไทย
เรียงร้อยหัตถศิลป์ สร้างสรรค์งานสวยด้วยความประณีตบรรจง ละเมียดละไม ดื่มด่ำความเป็นไทยที่นับวันจะหมดไป

💠 พรรณไม้ไทย
ตามมงคลความเชื่อของคนไทย ถ้าผู้ใดปรารถนาจะปลูกต้นไม้ให้อยู่เย็นเป็นสุข ให้เกิดสิริมงคลแก่บ้านเรือน ท่านให้ปลูกต้นไม้ต่างๆ ตามทิศที่กำหนดจะเป็นมงคล

💠 ประเพณีลอยกระทง
วันลอยกระทง เป็นวันสำคัญวันหนึ่งของชาวไทยส่วนใหญ่ ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย หรือเดือนยี่ (เดือนที่ 2)

💠 ภาษาบาลี
ภาษาบาลี หรือภาษามคธ เป็นภาษาของชาวชมพูทวีป ปัจจุบันนี้เรียกว่า อินเดีย

💠 ชนพื้นเมืองดั้งเดิม จังหวัดนครพนม
ไทยญ้อส่วนใหญ่ได้อพยพ มาตั้งถิ่นฐานใหม่ที่ไชยบุรี  ปากน้ำสงครามริมฝั่งแม่น้ำโขง (ตำบลไชยบุรี อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนมในปัจจุบัน)

💠 หาบเร่ สายป่านชีวิตไทย
กำเนิดของหาบเร่ไม่ปรากฎเป็นหลักฐานที่แน่ชัด หากได้ผูกพันกับชีวิตของคนไทยมาแต่โบราณ เป็นสายป่านเพื่อการดำเนินชีวิตที่สืบทอดต่อกันมา

💠 คชลักษณศาสตร์
เพดานขาว คือ มีเพดานปากขาวดุจเนื้อในของเผือกมัน หากจะดำหรือแดงก็ค่อนข้างขาวเสมอกัน

💠 วัฒนธรรม
วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์

💠 วัฒนธรรมกับระบบความเชื่อในสังคมไทย
ะบบความเชื่อ ย่อมรวมถึงศาสนา และความเชื่อในลัทธิต่างๆ ศาสนา ในความหมายกว้าง ๆ คือการบวงสรวงบูชาหรือการสร้างสัมพันธภาพอันดีระหว่างมนุษย์กับอำนาจศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย

💠 วัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ (Learning Culture)
“การเรียนรู้” เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับทุกคน ตั้งแต่เกิดจนตาย ดังนั้น วัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ จึงมีความสำคัญยิ่งต่อทุกองค์กร

💠 วัฒนธรรมการรับประทานอาหารตามแนววิถีชีวิตมุสลิม
วัฒนธรรมในการรับประทานอาหารเป็นไปตามแนววิถีชีวิตมุสลิม เนื่องจากปัตตานีมีประชากรนับถือศาสนาอิสลามเป็นส่วนใหญ่

💠 อารยธรรมกรีกโบราณ
มิโนส เป็นกษัตริย์ของเกาะครีต เป็นลูกของพระเจ้าเซอุส (Zeus) และพระนางยุโรป (Europe) มีสัญลักษณ์ประจำพระองค์เป็นรูปวัว

💠 อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
พวกสุเมเรียน มาจากไหนไม่มีหลักฐานแน่ชัด สันนิษฐานกันว่ามาจากทางตะวันออก อาจเป็นพวกเดียวกับกลุ่มชนที่สร้างอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ

💠 ประวัติศาสตร์อียิปต์
อียิปต์ ตามความหมายที่เฮโรดอท นักเดินทางชาวกรีกให้ไว้ หมายถึง ของขวัญจากแม่น้ำไนล์

💠 ตะเกียบ
จากหลักฐานเหล่านี้แสดงให้เห็นว่า ตะเกียบไม่ใช่เครื่องใช้ประกอบในการกินอาหารของชาวไทย และลาว เนื่องจากว่า ไทยไม่ได้รับเอาตะเกียบเข้ามาอยู่ในวัฒนธรรมการกินเหมือนกับช้อนและส้อม

💠 อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนเกิดขึ้นครั้งแรกที่ลุ่มแม่น้ำฮวงโห คือที่ราบตอนปลายของแม่น้ำฮวงโหและแม่น้ำแยงซีเกียง อารยธรรมจีนเจริญโดยได้รับอิทธิพลจากภายนอกน้อยเพราะทิศตะวันออกติดมหาสมุทรแปซิฟิก

💠 ประเพณีชักพระ
ลากพระหรือชักพระ เป็นประเพณีเนื่องในพุทธศาสนากระทำหลังจากวันมหาปวารณาหรือวันออกพรรษา 1 วัน ตรงกับวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11

💠 เชงเม้ง
ชาวจีนเชื่อว่า ความเจริญรุ่งเรืองของลูกหลานขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่ตั้งของบ้านหรือตำแหน่งหลุมฝังศพของคนตาย

💠 ช้างไทย
ความสัมพันธ์ของคนกับช้างได้ถูกถ่ายทอดผ่านผลงานของศิลปกรรมไทย ในหลากหลายรูปแบบดังปรากฎให้เห็นทั้งจากลวดลายประดับในสถาปัตยกรรม

💠 สืบสานตาลปัตรพัดรองงานศิลป์
ทุกวันนี้คนไทยทั่วไปมักเข้าใจว่า พัดที่ทำจากใบตาลมีแต่เฉพาะตาลปัตร ซึ่งพระสงฆ์ใช้ประกอบพิธีทางศาสนาเท่านั้น แท้จริงในอดีต พัดที่ทำจากใบตาลมีหลายรูปแบบ สำหรับใช้โบกให้ความเย็น

💠 สังคโลก
สังคโลก เป็นชื่อของเครื่องปั้นดินเผา ที่มาจากแหล่งเตาผลิตบริเวณอำเภอต่างๆ ในจังหวัดสุโขทัย

💠 วิถีอิสาน
วิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่ยึดมั่นอยู่ในจารีตประเพณีที่เรียกว่า “ฮีตบ้านคองเมือง” และ “ฮีตสิบสิง คองสิบสี่” สอนให้เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันละกัน ร่วมกิจกรรมสังคมและงานบุญงานกุศลเป็นประจำ

💠 บุญข้าวประดับดิน
การทำบุญข้าวประดับดิน เป็นประเพณีหนึ่งในฮีต สิบสอง นิยมทำกันในวันแรม 14 ค่ำ เดือนเก้า หรือที่เรียกว่า บุญเดือนเก้า

💠 ประเพณีปล่อยเรือ
ประเพณีปล่อยเรือในจังหวัดตราดนั้นบางท่านอาจยังไม่เคยเห็น เพราะมีการจัดไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่

💠 ประเพณีวิ่งควาย
เป็นประเพณีเก่าแก่ตั้งแต่ดั้งเดิมของ จังหวัดชลบุรีเมื่อประมาณ 100 ปีเศษมาแล้ว

💠 กำเนิดวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและมีความสำคัญสำหรับชาติหนึ่ง ๆ การที่มนุษย์แตกต่างจากสัตว์หรือการที่มนุษย์แบ่งเป็นชาตินั้นชาตินี้ก็อาศัยวัฒนธรรมเป็นเครื่องกำหนดนั่นเอง

💠 ความหมายของวัฒนธรรม
วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ

💠 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาถิ่น
วัฒนธรรมทางภาษานับเป็นความเจริญงอกงามที่มนุษย์ใช้เป็นสื่อกลางในการแสดงความหมายระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร

💠 ผู้ฟังที่ดี
การฟัง คือ การรับรู้ความหมายจากเสียงที่ได้ยินเป็นการรับสารทางหู การได้ยินเป็นเพียงการกระทบกันของเสียงกับประสาทหูตามปกติ ส่วนการฟังเป็นกระบวนการทำงานของสมอง

💠 ความหมายตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ5 ธันวาคม 2554

💠 วัฒนธรรมโลก กับ ความเป็นอเมริกัน
อุดมคติของชาวอเมริกันเกี่ยวกับโลกที่ว่า โลกคือเบ้าหลอมทางวัฒนธรรมนั้น ตอนนี้มันกำลังถูกแทนที่โดยทัศนะของชาวแคนาเดียนที่ว่า โลกคือโมเซอิคของความหลากหลายทางวัฒนธรรม

💠 ประเพณีชักพระ
ประเพณีชักพระหรือลากพระเป็นประเพณีที่พราหมณ์ศาสนิกชนและพุทธศาสนิกชนปฏิบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณ สันนิฐานว่าประเพณีนี้เกิดขึ้นครั้งแรก ในประเทศอินเดียตามลัทธิศาสนาพราหมณ์

💠 นกกระจาบ (นิทานชาดก)
ในช่วงหนึ่งแห่งกาลเวลา นานแสนนานผ่านมา ณ ป่าไผ่แห่งหนึ่งมีนกกระจาบอยู่ฝูงหนึ่ง อาศัยหากินอยู่เป็นประจำ

💠 พระราชพิธีสิบสองเดือน
พระราชพิธีที่ปฎิบัติประจำในแต่ละเดือน เป็นมูลเหตุให้สังคมไทยที่ยึดมั่นในพระมหากษัตริย์ และเป็นสังคมที่มีพุทธศาสนาเป็นแนวทางการดำเนินชีวิต

💠 ประเพณีสิบสองเดือนของพม่า
สังคมพม่านับได้ว่าเป็นสังคมที่แทบหยุดกาลเวลา และหยุดความเปลี่ยนแปลงไว้ได้ในระดับหนึ่ง ทั้งนี้เพราะพม่าปิดประเทศมานานกว่า 3 ทศวรรษ

💠 ประเพณียี่เป็ง
คำว่า “เป็ง” ก็คือพระจันทร์ในคืนวันเพ็ญ พระจันทร์ในคืนนี้จะมีความสว่างสุกใสเป็นพิเศษ

💠 พิธีกรรมในศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ หรือ ศาสนาสิกข์ เป็นศาสนาที่ถือกำเนิดขึ้นในราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในตอนเหนือของอินเดีย จากคำสอนของ นานัก และคุรุผู้สืบทอดอีก 9 องค์

💠 วันวาเลนไทน์
วันวาเลนไทน์ นั้นมีมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิโรมัน ในกรุงโรมสมัยก่อนนั้น วันที่ 14 กุมภาพันธ์ จะเป็นวันเฉลิมฉลองของจูโน่ ซึ่งเป็นราชินีแห่งเหล่าเทพและเทพธิดาของโรมัน

💠 ไทยทรงดำ
ไทยทรงดำ (Tai Song Dam Ethnic) เป็นชนชาติไทยกลุ่มหนึ่งซึ่งมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไปหลายชื่อ อาทิ ลาวโซ่ง ไทดำ ไตดำ ผู้ไทยดำ ไทยทรงดำ ไทยโซ่ง ลาวซ่ง ลาวซ่วงดำ และลาวทรงดำ

💠 ผีตาโขน
ผีตาโขน ได้รับการกล่าวขานถึงทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ด้วยเอกลักษณ์ที่โดดเด่นทั้งการแต่งกาย

💠 ประเพณีกินเจจังหวัดภูเก็ต
เดิมประเพณีกินผัก (เจี๊ยะฉ่าย) ที่ชาวบ้านและชาวจีนที่อยู่ในจังหวัดภูเก็ตเรียกกันว่า "เจี๊ยะฉ่าย" นั้น เป็นลัทธิเต๋าซึ่งนับถือบูชาเซียนเทวดา เทพเจ้า วีรบุรุษ

💠 สังคมและวัฒนธรรม
วัฒนธรรม คือ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น กำหนดขึ้น มิใช่สิ่งที่มนุษย์ทำตามสัญชาตญาน อาจเป็นการประดิษฐ์วัตถุสิ่งของขึ้นใช้ หรืออาจเป็นการกำหนดพฤติกรรมและ/หรือความคิด

💠 ปลาตะเพียนใบลาน
การสานปลาตะเพียนใบลานเป็นอาชีพเก่าแก่ที่ทำสืบต่อกันมาตั้งแต่ บรรพบุรุษนานกว่า 100 ปี โดยสันนิษฐานว่าชาวไทยมุสลิมซึ่งล่องเรือขายเครื่องเทศอยู่ตามแม่น้ำเจ้าพระยาและอาศัยอยู่ในเรือเป็นผู้ประดิษฐ์ปลาตะเพียนสานด้วยใบลานขึ้นเป็นครั้งแรก

💠 พิธีบรมราชาภิเษก
การจัดพิธีบรมราชาภิเษก เป็นพิธีที่จัดต้อนรับหรือรับรองฐานะความเป็นประมุขของสังคม อย่างเป็นกิจจะลักษณะ ซึ่งมีมาแต่ครั้งพ่อขุนผาเมือง ได้อภิเษกพ่อขุนบางกลางหาว หรือพ่อขุนบางกลางท่าว ให้เป็นผู้ปกครองเมืองสุโขทัย

💠 ประวัติประเพณีลอยกระทง
ประเพณีลอยกระทงนั้น ไม่มีหลักฐานระบุแน่ชัดว่าเริ่มตั้งแต่เมื่อใด แต่เชื่อว่าประเพณีนี้ได้สืบต่อกันมายาวนานตั้งแต่สมัยสุโขทัย

💠 ขนมไทย
ด้วยความช่างประดิดประดอย คิดค้นและวิวัฒนาการของคนไทย ทำให้ ขนมไทย โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะและมีคุณค่าในตัวเอง

💠 ประเพณีทอดกฐินภาคกลาง
คำว่า กฐิน ตามภาษาบาลีแปลว่า ไม้สะดึง คือ กรอบไม้สำหรับขึงผ้าเพื่อเย็บของพระภิกษุให้สะดวกขึ้น เนื่องจากสมัยก่อน เครื่องมือที่จะใช้เย็บได้สะดวกไม่มีเหมือนในปัจจุบัน

💠 ประเพณีวันตรุษจีน
การประกอบพิธีกรรมในช่วงตรุษจีน เริ่มมีการปฏิบัติก่อนวัน 1 ค่ำเดือน 1 เล็กน้อย มีการส่งเทพเจ้าประจำบ้านขึ้นสวรรค์ เรียกว่า “จั๊บยี่โง้ยยี่สี่ส้างซิ๋น” โดยสมาชิกในบ้านร่วมกันทำความสะอาดบ้านก่อน

💠 รำศุภลักษณ์อุ้มสม
นาฎศิลป์นอกจากเป็นศิลปะของการเคลื่อนไหวร่างกายด้วยลีลาท่าทางที่งดงาม โดยการใช้ภาษาท่าทางในการสื่อความหมายแล้ว ยังประกอบด้วยศิลปะประเภทต่างๆ

» ย้อนกลับ หน้าถัดไป


แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย