ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>

สุนทรียศาสตร์จีน

ศิลปะไม่ใช่การอธิบายเกี่ยวกับความจริงของผิวหน้า

ศิลปะคือการปลุกเร้าจิตวิญญาณของปรากฏการณ์ มากกว่าการอรรถาธิบายเกี่ยวกับความจริงของผิวหน้า(a depiction of surface reality) ยกตัวอย่างเช่น บรรดาจิตรกรทั้งหลายต่างได้รับการทึกทักหรือคาดการณ์ให้จับคว้าพลัง”ชี่”หรือ”การสะท้อนหรือกำทอนทางจิตวิญญาณของสิ่งต่างๆ”เอาไว้ได้ (“qi” or “spirit resonance” of things.) ถ้าศิลปินกระทำเช่นนั้น งานจิตรกรรมในตัวมันเองก็จะแสดงพลัง”ชี่”ออกมาในลักษณะที่เรียกว่า zaohua กล่าว คือการที่ศิลปินมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ของธรรมชาติ (The artist participates in nature’s creativity)   เพื่อที่จะบรรลุถึงสิ่งนี้ ศิลปินหรือนักกวีจะต้องปฏิบัติสมาธิอันประกอบด้วย 2 สิ่งที่เป็นฐานราก นั่นคือ

  1. การเคลื่อนย้ายความหลงผิดเกี่ยวกับตัวตนที่แบ่งแยกและความปรารถนาที่ตัวตนได้สร้างขึ้นมา
  2. การเพ่งความเอาใจใส่ต่อเรื่องราว กระทั่งการเข้าร่วมเป็นหนึ่งเดียวกับเรื่องราวนั้น การเข้าร่วมนี้ ได้รับการอธิบายในเชิงอุปมาอุปมัยอย่างหลากหลาย ยกตัวอย่างเช่น “รวมเข้าไปเป็นหนึ่งเดียวกับก้อนหินหรือต้นไม้ หรือยินยอมให้ปรากฏการณ์นั้นเข้ามาในตัวศิลปิน จนกระทั่งต้นไผ่อยู่ในตัวตน-หรือตัวตนคือต้นไผ่ (as “entering into” the rock or tree, or as allowing the phenomenon to enter into the artist, resulting in the “complete bamboo in the breast.)

อ่านต่อ >>>

พิธีกรรมและดนตรี ในแนวคิดของขงจื่อ
ซุนซี: ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับระเบียบแบบแผน เสี้ยวทง: ผู้ปลดปล่อยดนตรีจากจริยศาสตร์ (ค.ศ.530)
สุนทรียศาสตร์ถูกครอบงำโดยชนชั้นสูง
วังเว่ย: งานจิตรกรรมจักต้องสอดคล้องกับ “ป้ากัว” หรือ แผนผังจักรวาล
ซังฮี: แนวทางหลัก 6 ประการสำหรับการตัดสินจิตรกรรม
การสังเคราะห์ในราชวงศ์ซ้อง(the Song Synthesis)
เหมาเซตุง, หลู่ซิ่น: ศิลปะรับใช้การปฏิวัติ
มวลชนในฐานะที่เป็นวีรบุรุษต่างๆ ในภาพเขียน
การปฏิวัติวัฒนธรรม (the Cultural Revolution) ค.ศ.1966–1976
ปล่อยให้ดอกไม้ร้อยดอกเบ่งบาน โรงเรียนร้อยแห่งแข่งขัน
สุนทรียศาสตร์จีน (Chinese aesthetics)
นำมาจาก EAST ASIAN AESTHETICS AND NATURE David Landis Barnhill

ศิลปะไม่ใช่การอธิบายเกี่ยวกับความจริงของผิวหน้า
กวีที่ยิ่งใหญ่ได้บรรลุถึงเอกภาพแห่งทวินิยม
มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ วัฒนธรรมมนุษย์จึงไม่แยกจากธรรมชาติ
สุนทรียศาสตร์ชาวจีนตั้งอยู่บนฐานความหมายที่สาม (ความเป็นเอกภาพกับธรรมชาติ)
 

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย