ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>
สุนทรียศาสตร์อินเดีย
รศ. สมเกียรติ ตั้งนโม (โครงการจัดตั้ง ACT: Art Criticism & Theory)
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทฤษฎีรส พัฒนาขึ้นโดยนักสนุทรียศาสตร์แคชเมียร์ (Kashmiri aesthetician)
รสที่เก้า (the ninth rasa), shanta-rasa (สันติรส)
ทฤษฎีเกี่ยวกับเรื่องรสพัฒนาขึ้นอย่างมีนัยสำคัญโดยนักสนุทรียศาสตร์แคชเมียร์
(Kashmiri aesthetician) บทกวีคลาสสิกต่างๆ ของ Andandavardhana (*), ใน the
Dhvanyaloka ได้นำเสนอรสที่เก้า(the ninth rasa), shanta-rasa (สันติรส)
ในฐานะความรู้สึกในทางศาสนาเกี่ยวกับภาวะสันติ / สงบ [peace (santa)] โดยเฉพาะ
ซึ่งเกิดขึ้นจากภาวะ(bhava), ความเหนื่อหน่ายเกี่ยวกับความสุขทางกาม
หรือความเพลิดเพลินสนุกสนานทางโลก
(*) Anandavardhana (820-890) was the author of
Dhvanyaloka, the philosophy of "aesthetic suggestion". The philosopher
Abhinavagupta wrote an important commentary on it. Anandavardhana is credited
with creating the dhvani method. He wrote of dhvani (meaning sound, or
resonance) in regard to the "soul of poetry." "When the poet writes," said
Anandavardhana, "he creates a resonant field of emotions." To understand the
poetry, the reader or hearer must be on the same "wavelength." The method
requires sensitivity on the parts of the writer and the reader.
ระสะ : รสชาติทางอารมณ์ความรู้สึกที่ฝังอยู่ในผลงานศิลปะ
นาฎยศาสตร์: คัมภีร์พระเวทอันดับห้า (ยุคเสื่อม)
ทฤษฎีรส พัฒนาขึ้นโดยนักสนุทรียศาสตร์แคชเมียร์
รส-ธวานิหรือข้อเสนอแนะเชิงบทกวี
ความสำคัญของรส ศูนย์กลางเกี่ยวกับประสบการณ์ของมนุษย์
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับกามะ-กาม
นาฏยศาสตร์ของภารตะมุนี และในคัมภีร์อุปนิษัท