วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา >>
กล้องโทรทรรศน์อวกาศ
จันทรา (Chandra Observatory)
สถานีเฝ้าสังเกตการณ์ อวกาศรังสีเอ็กซ์ของสหรัฐอเมริกา
ส่งขึ้นไปสู่วงโคจรเมื่อ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2542
ในการเฝ้าสังเกตการณ์ของจันทรา ไม่เหมือนกับกล้องโทรทรรศน์ฮับเบิ้ล
ที่รับภาพจากยานคลื่นที่ตามนุษย์มองเห็น จันทราจะรับคลื่นในยานรังสีเอ็กซ์
จึงสังเกตสิ่งต่างๆ ในอวกาศที่ตามองไม่เห็นได้ดี
โยโกะ (Yohkoh)
สร้างและส่งขึ้นสู่วงโตจรในอวกาศโดยประเทศ ญี่ปุ่น
ใช้เพื่อสังเกตปรากฎการณ์ลมสุริยะ (Solarwind) โดนเฉพาะรังสีเอ็กซ์ และรังสีแกมมา
ที่ออกมาจากดวงอาทิตย์
กล้องโทรทรรศน์อวกาศรุ่นใหม่
จากผลสำเร็จของกล้องโทรทรรศน์ฮับเบิ้ล ทำให้องค์การนาสา (NASA)
ของสหรัฐอมเริกาและองค์การอวกาศยุโรป (ESA) มีโครงการที่เรียกว่า Next Generation
Space Telescope - NGST เกิดขึ้น ซึ่งคาดว่าจะเริ่มปฎิบัติการได้ ในราวปี พ.ศ. 2548
ภาพจากสถานีเฝ้าสังเกตการณ์จันทรา
บริเวณดาราจักรเอ็นจีซี 5548
แสดงให้เห็นว่ารังสีเอ็กซ์จากใจกลางของหลุมดำ และมีกลุ่มก๊าซที่อยู่รอบๆ
หลุมดำขนาดยักษ์ ที่ดูดซึมพลังงานรังสีเอ็กซ์
ดาราจักรรูปกังหัน (Spiral Galaxi)
กล้องโทรทรรศฯ์อวกาศฮับเบิ้ล ได้ถ่ายภาพดาราจักรรูปกังหัน 2
ดาราตักร คือ NGC 2207 ซึ่งใหญ่กว่า และ ดาราจักร NGC 2163 ที่เล็กกว่า
ซากของดาวระเบิดใหม่
กล้องโทรทรรศฯ์อวกาศฮับเบิ้ล ถ่ายภาพซุปเปอร์โนวา 1987 เอ
(Supernova 1987 A ) ในดาราจักรแมกเจอแลนใหญ่ หลังจากระเบิดเป็นเวลา 9 ปี
ในภาพจะเห็นกลุ่มก๊าซที่พุ่งออกมาเป็นวงกลมใหญ่ 2 วง