ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>

เรือนไทย

เรือนไทยภาคเหนือ

ในเขตจังหวัดภาคเหนือส่วนหนึ่งมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มภูเขา หุบเขา และที่ดอนบนเทือกเขาสูง มีความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 1500-3000 เมตร นับตั้งแต่เทือกเขาด้านตะวันตกในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอนอ้อมมาส่วนเหนือที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และด้านตะวันออกที่จังหวัดน่าน ลักษณะสภาพทางภูมิศาสตร์ข้างต้น ทำให้เกิดการตั้งถิ่นฐานขึ้น 2 แบบคือ อ่านต่อ >>>

เรือนไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

การสร้างบ้านของชุมชนในภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่สมัยโบราณมักเลือกทำเลที่ตั้งอยู่ตามที่ราบลุ่มที่มีแม่น้ำสำคัญ ๆ ไหลผ่าน เช่น แม่น้ำโขง แม่น้ำมูล แม่น้ำชี แม่น้ำสงคราม ฯลฯ รวมทั้งอาศัยอยู่ตามริมหนองบึง ถ้าตอนใดน้ำท่วมถึงก็จะขยับไปตั้งอยู่บนโคกหรือเนินสูง ดังนั้นชื่อหมู่บ้านในภาคอีสานจึงมักขึ้นต้นด้วยคำว่า “โคก โนน หนอง” เป็นส่วนใหญ่ ลักษณะหมู่บ้านทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสานนั้น มักจะอยู่รวมกันเป็นกระจุก อ่านต่อ >>>

เรือนไทยภาคกลาง

ในจดหมายเหตุของแกมป์เฟอร์ ชาวเยอรมัน ซึ่งมากับเรือชาวฮอลันดาเมื่อ พ.ศ. 2233 ได้กล่าวถึงเรือนไทยในสมัยอยุธยาไว้ว่าบ้านคนธรรมดานั้นเป็นบ้านกระท่อม ปลูกด้วยไม้ไผ่ พื้นปูกระดานหลังคามุงจากหยาบๆ พวกขุนนางหรือเสนาบดีและข้าราชบริพารในราชสำนักจะปลูกบ้าน วัง หรือตำหนักอยู่ต่างหาก และบ้านซึ่งปลูกตามริมฝั่งแม่น้ำปลูกบนเสาสูงถึงฟาทอม (1 ฟาทอมเท่ากับ 6 ฟุต) เพื่อมิให้กระแสน้ำหน้าน้ำท่วมถึง อ่านต่อ >>>

เรือนไทยภาคใต้

ภาคใต้ของประเทศไทยมีสภาพทางภูมิศาสตร์ที่แตกต่างไปจากภาคอื่น ๆ ของประเทศ กล่าวคือ มีลักษณะเป็นแหลมหรือคาบสมุทรยื่นออกไปจนจรดประเทศมาเลเซีย ล้อมรอบด้วยฝั่งทะเล โดยมีอ่าวไทยอยู่ทางฝั่งทะเลตะวันออก และทะเลอันดามันอยู่ทางฝั่งทะเลตะวันตก ด้านสภาพภูมิอากาศของภาคใต้เป็นอาณาบริเวณที่มีอากาศร้อนฝนตกชุก อ่านต่อ >>>
 

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย