สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
พรมแดนของกลุ่มชาติพันธุ์
ความสนใจวิพากษ์ของการสำรวจจากมุมมองนี้กลายเป็น
พรมแดนชาติพันธุ์ที่นิยามกลุ่ม ซึ่งไม่ยัดไส้ทางวัฒนธรรมที่มันล้อมรอบ
พรมแดนที่เราจำเป็นต้องให้ความสนใจพิจารณาเป็นพรมแดนทางสังคม
แม้ว่าพวกเขาอาจมีอาณาเขตบริเวณที่คล้ายกันมาก
หากกลุ่มหนึ่งดำรงรักษาอัตลักษณ์ของมัน เมื่อสมาชิกปะทะสังสรรค์กับผู้อื่น
และเกณฑ์กำหนดสิทธิการสืบทอดนี้สำหรับกำหนดความเป็นสมาชิกและวิถีทางของการส่งสัญญาณการเป็นสมาชิกและการกีดกัน
กลุ่มชาติพันธุ์ไม่ใช่เพียงแค่นั้น
หรือพื้นานความจำเป็นอยู่บนการครอบครองของอาณาเขตแดนที่แบ่งเฉพาะ;
และวิถีความแตกต่างในสิ่งที่พวกเขาถูกเก็บรักษา
ซึ่งไม่เพียงโดยการคัดสรรสมาชิกใหม่โดยสิ้นเชิง
แต่โดยการแสดงออกที่สืบต่อเนื่องและการทำให้เป็นจริง
ซึ่งจำเป็นที่ต้องถูกวิเคราะห์ต่อไป
สิ่งที่เป็นมากกว่า พรมแดนชาติพันธุ์ได้จัดช่องชีวิตทางสังคม ---
มันเกี่ยวพันชัดเจนบ่อยครั้งกับการจัดระเบียบความซับซ้อนของพฤติกรรมและความสัมพันธ์ทางสังคม
การบ่งชี้จำแนกของตัวบุคคลอื่นราวกับเพื่อนสมาชิกของกลุ่มชาติพันธุ์ที่จำเป็นต้องร่วมแบ่งในเกณฑ์สำหรับการประเมินค่าและการตัดสิน
มันจึงเกี่ยวพันกับข้อสันนิษฐานว่าสองคนนั้นกำลัง เล่นเกมเดียวกัน
อย่างที่เป็นพื้นฐานสำคัญ และวิธีการนี้ที่มีแฝงพลังระหว่างพวกเขา
เพื่อการทำให้แตกต่างหลากหลายและการขยายตัวของความสัมพันธ์ทางสังคมของพวกเขา
ต่อสิ่งที่ปกปิดซ่อนเร้นภาคส่วนและขอบเขตของการกระทำที่แตกต่างทั้งหมด
ซึ่งจะปรากฎในท้ายที่สุด ในอีกด้านหนึ่ง
การทำให้เกิดสองขั้วของผู้อื่นเป็นเหมือนคนนอก
และเป็นเหมือนสมาชิกของอีกกลุ่มชาติพันธุ์
ซึ่งจำเป็นต้องรับรู้ยอมรับในการกำหนดขอบเขตบนการร่วมแบ่งความเข้าใจ
และความแตกต่างในเกณฑ์สำหรับตัดสินคุณค่าและการแสดงออก
รวมไปถึงการควบคุมจำกัดของปฏิสัมพันธ์ต่อส่วนประกอบของสมมุติที่เข้าใจร่วมกันและมีผลประโยชน์ร่วมกัน
สิ่งที่กำลังกล่าวถึงนี้ทำให้มันเป็นไปได้ที่จะเข้าใจรูปลักษณะสุดท้ายแบบหนึ่งของการดำรงรักษาพรมแดนด้วยหน่วยทางวัฒนธรรมและการยืนหยัดรักษาพรมแดน
การกำหนดสืบทอดการดำรงรักษาพรมแดนชาติพันธุ์เป็นด้วยเงื่อนไขของการติดต่อทางสังคม
ระหว่างตัวบุคคลจากวัฒนธรรมที่แตกต่าง:
กลุ่มชาติพันธุ์เพียงยืนหยัดแสดงราวกับเป็นหน่วยที่มีความหมายสำคัญ
ทว่าพวกเขาบอกนัยที่แตกต่างในพฤติกรรม ดังเช่น การยืนหยัดวัฒนธรรมที่แตกต่างไว้
กระทั่งขณะที่ผู้คนซึ่งวัฒนธรรมแตกต่างได้ปฏิสังสรรค์
เขาจะคาดหวังว่าความแตกต่างเหล่านี้ได้ถูกลดทอนลง
เนื่องจากการปฏิสัมพันธ์ทั้งเรียกร้องและทำให้เกิดความสอดคล้องลงรอยของรหัสและคุณค่า
--- ในอีกด้านทำนองเดียวกันหรือชุมชนของวัฒนธรรม (ในบาร์ท 1966
เพื่อการอภิปรายของฉันในประเด็นนี้)
ดังนั้นการยืนยันมั่นคงของกลุ่มชาติพันธุ์ในการติดต่อสัมพันธ์ไม่ได้เกี่ยวข้องเพียงกฎเกณฑ์และสัญญาณ
(ความหมาย) สำหรับบ่งชี้จำแนกเท่านั้น
แต่ยังได้ประกอบสร้างการปฏิสัมพันธ์ส่วนหนึ่งที่ยินยอมให้ยืนยันความแตกต่างทางวัฒนธรรมด้วย
คุณลักษณะเชิงการจัดระเบียบองค์กร ซึ่งฉันจะถกเถียงนั้น
ต้องเป็นลักษณะทั่วไปสำหรับความสัมพันธ์ระหว่างชาติพันธุ์ทั้งหมด คือ
การจัดระบบแบบแผนของกฎเกณฑ์/การควบคุมการติดต่อสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างชาติพันธุ์
ในการจัดระเบียบชีวิตทางสังคมทั้งหมด
สิ่งที่สามารถทำให้เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับการปฏิสัมพันธ์ในแต่ละสถานการณ์ทางสังคมโดยเฉพาะได้ถูกกำหนดไว้
(Goffman 1959) ถ้าหากผู้คนเห็นพ้องเกี่ยวกับการกำหนดกฎเกณฑ์เหล่านี้
การตกลงพ้องใจของพวกเขาได้ตั้งอยู่บนรหัสและคุณค่า
ซึ่งไม่จำเป็นต้องขยายเกินกว่าที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ทางสังคมในส่วนที่พวกเขาปะทะสังสรรค์กัน
ความสัมพันธ์ระหว่างชาติพันธุ์ที่มั่นคงสม่ำเสมอ
ดังที่ประกอบสร้างขึ้นในการปฏิสัมพันธ์:
การจัดวางกฎเกณฑ์ควบคุมจัดการสถานการณ์ของการติดต่อสัมพันธ์และได้อนุญาติให้แก่การเชื่อมต่อในบางภาคส่วน/พื้นที่
(sectors) หรือบางขอบเขตของการกระทำ
และจัดวางการยับยั้งห้ามปรามในบางสถานการณ์ทางสังคมที่ป้องกันปฏิสัมพันธ์ระหว่างชาติพันธุ์ในภาคส่วน/พื้นที่อื่นๆ
และด้วยการแยกส่วนเฉพาะของวัฒนธรรมจากการพบปะเผชิญหน้าและการปรับตัวไปตามสภาพแวดล้อม
» กลุ่มชาติพันธุ์เป็นเหมือนหน่วยที่มีวัฒนธรรมสัมพันธ์กัน
» กลุ่มชาติพันธุ์ เป็นเหมือนรูปแบบการจัดองค์กร
» ความเกี่ยวข้องของอัตลักษณ์และมาตรฐานเชิงคุณค่า
» การพึ่งพิงอาศัยกันของกลุ่มชาติพันธุ์
» ปัจจัยในการเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์
» อัตลักษณ์ชาติพันธุ์และคุณูปการที่ปรากฎจริง
» กลุ่มชาติพันธุ์และการจัดแบ่งช่วงชั้น
» ชนกลุ่มน้อย ผู้ถูกกีดกัน และคุณลักษณะในการจัดกลุ่มองค์กรของขอบนอก
» การติดต่อและการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม
» ความเปลี่ยนแปลงในการจัดวางความสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์