ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>

หุ่นกระบอก

นาวสาวนภัสวรรณ บุญนิธี หลักสูตรและการสอน รุ่น 7

วิกฤตของหุ่นกระบอกในปัจจุบัน

  1. ภาครัฐไม่เห็นความสำคัญของการแสดงหุ่นกระบอกไม่อนุรักษ์ไม่ส่งเสริมและไม่สนับสนุนให้การแสดงหุ่นกระบอกเป็นที่แพร่หลายในสังคมไทยทั้งๆที่การแสดงหุ่นกระบอกเป็นการแสดงที่อยู่คู่กับราชสำนักและประชาชนตลอดมาสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดที่มีคณะหุ่นกระบอกสังกัดอยู่ก็ไม่สามารถช่วยเหลือหรือส่งเสริมให้การแสดงหุ่นกระบอกแพร่หลายไปได้อย่างต่อเนื่องเพราะขาดงบประมาณในการรองรับการจัดทำโครงการต่างๆ
  2. คนส่วนมากในปัจจุบันไม่รู้จักการแสดงหุ่นกระบอก บางคนเข้าไม่ถึงอรรถรสและความสุนทรียภาพของการแสดงหุ่นกระบอก เพราะหุ่นกระบอกขาดการประชาสัมพันธ์ที่ดี ไม่แสดงตัวตนไม่แสดง อัตลักษณ์ ไม่แสดงของดีๆ ที่ตนเองมีอยู่ให้ผู้ชมได้ทราบ ผู้เล่นหุ่นกระบอกก็มี่หน้าตาที่ไม่น่าสนใจ ไม่หล่อ ไม่สวย จึงไม่มีสิ่งที่ดึงดูดใจในการแสดง
  3. สภาพเศรษฐกิจที่ตกต่ำทำให้รายได้ของการแสดงหุ่นกระบอกไม่ดีเท่าที่ควร

หุ่นไทย
สมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ.2121-2246)
สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ.2246-พ.ศ.2310)
สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ.2310-พ.ศ.2325)
สมัยรัตนโกสินทร์
หุ่นของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
กำเนิดของหุ่นกระบอก
หุ่นนายวิง
หุ่นจางวางต่อ
หุ่นจางวางทั่ว
หุ่นกระบอกนายเปียก
หุ่นนายเบี้ยว
หุ่นกระบอกนายปั้น
ลักษณะหุ่นกระบอก
ศีรษะหุ่น
ลำตัวหุ่นกระบอก
มือของหุ่นกระบอก
เสื้อผ้าและเครื่องประดับของหุ่นกระบอก
วิธีเชิดหุ่นกระบอก
การโหมโรง
การแสดง
การบรรเลงและการขับร้อง
การพากย์หุ่น
โรงหุ่นกระบอก
ฉากหุ่นกระบอก
เครื่องประกอบฉาก
เรื่องหุ่นกระบอกที่นิยมแสดง
โอกาสในการแสดงหุ่นกระบอก
การบูชาครูก่อนการแสดงหุ่น
การบูชาครูของวงปี่พาทย์ก่อนการแสดงหุ่น
ความเชื่อและประเพณีในการแสดงหุ่น
หุ่นกระบอกคณะครูชื้น สกุลแก้ว
หุ่นกระบอกของจักรพันธุ์ โปษยกฤต
หุ่นกระบอกกรมศิลปากร
หุ่นกระบอกคณะรอดศิรินิลศิลป์
หุ่นกระบอกสมุทรสงคราม
หุ่นกระบอกคณะแม่เชวง อ่อนละม้าย
หุ่นกระบอกเพชรบุรี
หุ่นกระบอกคณะเพชรหนองเรือ
อัตลักษณ์
วิกฤตของหุ่นกระบอกในปัจจุบัน
แนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูหุ่นกระบอก

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย