ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม >>

บทวิเคราะห์เรื่องพุทธปรัชญา

ศาสนาแห่งกลียุค

ภัยระหว่างมนุษย์ต่อมนุษย์นั้นน่าจะเกิดจากความเหลื่อมล้ำในความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติซึ่งเป็นเหตุให้ชุมชนหนึ่งที่ขาดแคลนมีจิตใจฮึดแข็งกล้าขึ้นมา และเข้าต่อกรกับชุมชนที่อยู่ในท่ามกลางแห่งธรรมชาติอันสมบูรณ์ทั้งนี้เพื่อช่วงชิงเป็นเจ้าของสิ่งแวดล้อมนั้น และยังมีอีกหลายครั้งหลายหนซึ่งศาสนาเก่าได้สูญเสียความชอบธรรมไปโดยที่พวกพระละเว้นไม่ปฎิบัติชีวิตตามคำสอนที่แท้ และประกอบกับบ้านเมืองได้ระส่ำระสายประกอบเข้าด้วย มีการโอ่อ่าฟุ้งฟ้าฟุ้มเฟือย เกิดขึ้นในท่ามกลางแห่งความอยากจนมีการข่มเหงคะเนงร้ายกันในทางการเมืองและการนับถือศาสนาที่แท้ ด้วยประการฉะนี้ยุคสมัยอย่างนั้นจึงเป็นกลียุคจำเป็นต้องรู้ประวัติศาสตร์ศาสนาเมื่อเป็นเช่นนี้ในการศึกษาศาสนา เราจึงจำเป็นต้องรู้ศาสนาเพราะมีปราชญ์ทางศาสนามากมาย ได้เริ่มศึกษาพระคัมภีร์ old testament และ new testament ของยุโรปโดยจับตั้งแต่ข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ของประวัติศาสตร์ไปก่อน พระคัมภีร์กุรอานเป็นประวัติศาสตร์เกี่ยวกับการเผยแผ่ธรรมของพระมุฮัมมัด ฉะนั้นการศึกษาพระพุทธศาสนาจึงจับที่พุทธประวัติก่อน เพราะยังมีต้นเหตุแห่งการต่อกรของมนุษย์ก่อนพุทธกาลนมนานอยู่ ซึ่งเราจำต้องรู้เพื่อให้เข้าใจภาวะความเป็นไปของพุทธกาลได้ดีขึ้น นี้คือประวัติการกำเนิดแห่งวรรณะต่างๆ ในหมู่ประชากรของอินเดีย

เมื่อเรารู้ ปม ต่างๆซึ่งประวัติศาสตร์แจ้งไว้ว่าเป็นปมเสียอันควรแก่เราก็จะสามารถเลือคำสอนแท้ๆสำหรับศาสดาใช้แก้ ปมเสียเหล่านี้ได้ถูกต้องยิ่งขึ้น หาไม่แล้วหากหยิบคำสอนอย่างสุมสี่สุ่มห้าออกมาจากพระไตรปิฎกย่อมไม่ให้เป็นคำสอนอันเป็นแก่นของบรมศาสดาได้ เลย เพราะเราได้กล่าวแล้วว่าได้มีอรรถกถาจารย์มากมาย เอามติส่วนตัวของท่านแทรกในพระไตรปิฎกด้วย

» ศาสนวิทยาและจริยสังคมวิทยา

» ประวัติศาสตร์ของศาสนา

» ศาสนาแต่เบื้องบุพกาล

» วิญญาณนิยม และเทวนิยม

» ศาสนาแห่งความกลัว

» ศาสนาแห่งความสำนึกคุณ

» ศาสนาแห่งกลียุค

» แนวทางของจริยสังคมวิทยา

» กำเนิดและการแผ่พุทธศาสนา

» อารยธรรมดึกดำบรรพ์

» การแบ่งชนชั้นวรรณะในอินเดีย

» การค้นพบพุทธปรัชญา

» พระพุทธศาสนาในประเทศไทย

» การเสื่อมของพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย

» ญาณวิทยาของพระพุทธศาสนา

» ปรัชญาเถรวาทให้ข้อแนะนำไว้ในกาลามสูตร

» ก่อนที่จะยอมรับหลักคิดหรือความรู้ใด ๆ เป็นสรณะ

» ต้นกำเนิดความรู้ของมนุษย์

» หลักแห่งการทดสอบข้อเท็จจริง

» พุทธภววิทยา

» วิทยาอักซิโอในพุทธปรัชญาพุทธจริยศาสตร์

» พุทธปรัชญาเป็นลัทธิมัชฌิมาปฏิปทา

» ปรัชญาเถรวาทและสุนทรศาสตร์

» ปรัชญาเถรวาทและปฏิมากรรมวิทยา

» พุทธจริยศาสตร์ (BUDDHIST ETHICS )

» ความจำเป็นของจริยศาสตร์

» พุทธจริยศาสตร์ว่าด้วย “ กรรม ”

» ผลสนองของกรรม

» คำสอนว่าด้วยปรุงจิตต์แต่งกรรม

» ภารกิจของพระพุทธศาสนาต่อประเทศไทยและพุทธศิลปะในประเทศไทย

» ผลทางจิตใจ

» ผลทางวัตถุ

» สิ่งเคารพอันเป็นพระพุทธรูป

» สถาปัตยกรรมทางพระพุทธศาสนา

» ภาพศิลปะทางพระพุทธศาสนา

» วรรณคดีทางพระพุทธศาสนา

» ภาระกิจของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย

» พระสงฆ์

» นักศาสนา

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย