ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม >>
กำเนิดและการแผ่พุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาล่วงไปแล้วได้ 2494 ได้มีสงค์สืบต่อศาสนามาโดยลำดับ
เรามีหลักฐานว่าคำสอนในพระพุทธศาสนาเป็นของเจ้าชายสิทธารถแห่งวงศ์ศากยะก็ด้วยอาศัยพระไตรปิฎก
อันมีสุตตันตปิฎก วินับปิฎกและอภิธรรมปิฎก เป็นส่วนประกอบ แต่คัมภีร์ทั้ง 3 ประการ
ก็เป็นเพียงบันทึกของผู้รู้ในชั้นหลังๆ
หาใช่บันทึกขององค์สมเด็จพระสมณะโคดมเองไม่ในความลังเลว่าอะไรแน่เป็นคำสอนที่แท้ขององค์สมเด็จพระบรมศาสดา
เราก็จำเป็นต้องศึกษาภาวะทางสังคมของประเทศอินเดียในขณะนั้น
และพยายามขบปัญหาให้แตกต่างออกไป
ว่าอะไรเป็นเหตุกดดันให้เจ้าชายสิทธารถทรงคิดพุทธปรัชญาขึ้น?
เราจะเห็นว่าพระองค์เองทรงเป็นนักปฏิรูป
เพราะภาวะของสังคมอินเดียในเวลานั้นต้องการการปฏิรูปเป็นอย่างยิ่ง
เมื่อเราหาสาเหตุที่ต้องทำการปฏิรูปเช่นนี้ได้พบแล้ว
เราจึงจะเห็นแนวโน้มเอียงของพุทธปรัชญา
เราก็จะสามารถเลือกเอาได้ว่าคำสอนอันไหนเป็นคำสอนที่แท้ในพุทธศาสนา
ศาสนวิทยาและจริยสังคมวิทยา
ประวัติศาสตร์ของศาสนา
ศาสนาแต่เบื้องบุพกาล
วิญญาณนิยม และเทวนิยม
ศาสนาแห่งความกลัว
ศาสนาแห่งความสำนึกคุณ
ศาสนาแห่งกลียุค
แนวทางของจริยสังคมวิทยา
กำเนิดและการแผ่พุทธศาสนา
อารยธรรมดึกดำบรรพ์
การแบ่งชนชั้นวรรณะในอินเดีย
การค้นพบพุทธปรัชญา
พระพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเสื่อมของพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
ญาณวิทยาของพระพุทธศาสนา
ปรัชญาเถรวาทให้ข้อแนะนำไว้ในกาลามสูตร
ก่อนที่จะยอมรับหลักคิดหรือความรู้ใด ๆ เป็นสรณะ
ต้นกำเนิดความรู้ของมนุษย์
หลักแห่งการทดสอบข้อเท็จจริง
พุทธภววิทยา
วิทยาอักซิโอในพุทธปรัชญาพุทธจริยศาสตร์
พุทธปรัชญาเป็นลัทธิมัชฌิมาปฏิปทา
ปรัชญาเถรวาทและสุนทรศาสตร์
ปรัชญาเถรวาทและปฏิมากรรมวิทยา
พุทธจริยศาสตร์ (BUDDHIST ETHICS )
ความจำเป็นของจริยศาสตร์
พุทธภววิทยายันถึงการมีจริยศาสตร์
พุทธจริยศาสตร์ว่าด้วย กรรม
ผลสนองของกรรม
คำสอนว่าด้วยปรุงจิตต์แต่งกรรม
ภารกิจของพระพุทธศาสนาต่อประเทศไทยและพุทธศิลปะในประเทศไทย
ผลทางจิตใจ
ผลทางวัตถุ
สิ่งเคารพอันเป็นพระพุทธรูป
สถาปัตยกรรมทางพระพุทธศาสนา
ภาพศิลปะทางพระพุทธศาสนา
วรรณคดีทางพระพุทธศาสนา
ภาระกิจของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย
พระสงฆ์
นักศาสนา