ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม >>

บทวิเคราะห์เรื่องพุทธปรัชญา

ความจำเป็นของจริยศาสตร์

หลักจริยศาสตร์มีไว้เพื่อสอนให้คนเรารู้จักปฏิบัติตน เพื่อผลประโยชน์ของตนเองและผู้อื่น ดำรงไว้ซึ่งสังคมมนุษย์ ขอบเขตต์จริยศาสตร์

  1. ถ้าหากการขาดแคลนอันมีต้นเหตุมาจากธรรมชาติเกิดขึ้นเป็นการขาดแคลนของกินของใช้อันจำเป็นสำหรับชีวิตตัดความฟุ่มเฟือยและแก้ความขาดแคลนด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
  2. หากการ “ รู้สึก ” ขาดแคลนเกิดจากความโลภ ความอยากได้ไม่มีที่สิ้นสุด การใช้วิทยาศาสตร์จัดหาสิ่งมาบำรุงบำเรอความโลภ เป็นการยิ่งเพิ่มความโลภ โลกสมัยใหม่ปัจจุบันเป็นวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เป็นการเพาะกิเลสตัณหาของคน ฉะนั้นเราจำต้องระงับความโลภนี้ ดังนี้
    - ยับยั้งด้วยกรรม คือสอนคนหมู่ใหญ่ที่ไม่มีความโลภและระงับความโลภของกลุ่มคนที่มีความโลภด้วยการลงโทษ
    - ยับยั้งด้วยการสอนจริยศาสตร์ ซึ่งจะเกิดผลเฉพาะที่แก่ผู้ที่คิดจะโลภ แต่ผู้โลภแล้วไม่เกิดผลในการทำลายความโลภนั้นจริยศาสตร์วางจุดโจมตีไว้ตรงเรื่องทุกข์ มนุษย์เรามีภาระกิจประจำวันอยู่แค่แก้ทุกข์ ฉะนั้นหลักจริยศาสตร์แขวนอยู่กับคำสอนเรื่องทุกข์เรื่องอริยสัจจ์

» ศาสนวิทยาและจริยสังคมวิทยา

» ประวัติศาสตร์ของศาสนา

» ศาสนาแต่เบื้องบุพกาล

» วิญญาณนิยม และเทวนิยม

» ศาสนาแห่งความกลัว

» ศาสนาแห่งความสำนึกคุณ

» ศาสนาแห่งกลียุค

» แนวทางของจริยสังคมวิทยา

» กำเนิดและการแผ่พุทธศาสนา

» อารยธรรมดึกดำบรรพ์

» การแบ่งชนชั้นวรรณะในอินเดีย

» การค้นพบพุทธปรัชญา

» พระพุทธศาสนาในประเทศไทย

» การเสื่อมของพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย

» ญาณวิทยาของพระพุทธศาสนา

» ปรัชญาเถรวาทให้ข้อแนะนำไว้ในกาลามสูตร

» ก่อนที่จะยอมรับหลักคิดหรือความรู้ใด ๆ เป็นสรณะ

» ต้นกำเนิดความรู้ของมนุษย์

» หลักแห่งการทดสอบข้อเท็จจริง

» พุทธภววิทยา

» วิทยาอักซิโอในพุทธปรัชญาพุทธจริยศาสตร์

» พุทธปรัชญาเป็นลัทธิมัชฌิมาปฏิปทา

» ปรัชญาเถรวาทและสุนทรศาสตร์

» ปรัชญาเถรวาทและปฏิมากรรมวิทยา

» พุทธจริยศาสตร์ (BUDDHIST ETHICS )

» ความจำเป็นของจริยศาสตร์

» พุทธจริยศาสตร์ว่าด้วย “ กรรม ”

» ผลสนองของกรรม

» คำสอนว่าด้วยปรุงจิตต์แต่งกรรม

» ภารกิจของพระพุทธศาสนาต่อประเทศไทยและพุทธศิลปะในประเทศไทย

» ผลทางจิตใจ

» ผลทางวัตถุ

» สิ่งเคารพอันเป็นพระพุทธรูป

» สถาปัตยกรรมทางพระพุทธศาสนา

» ภาพศิลปะทางพระพุทธศาสนา

» วรรณคดีทางพระพุทธศาสนา

» ภาระกิจของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย

» พระสงฆ์

» นักศาสนา

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย