ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม >>

บทวิเคราะห์เรื่องพุทธปรัชญา

พระสงฆ์

พระพุทธศาสนาย่อมมีภาระกิจผูกพันอยู่กับสังคมไทยอย่างแยกกันไม่ออกซึ่งเป็นข้อเท็จจริงที่มองเห็น แต่ข้อเท็จจริงที่แอบแฝงก็มีอยู่เหมือนกัน นั่นคือพระสงฆ์ย่อมได้รับความอุปถัมภ์ค้ำชูจากประชาชน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการอุปโภคและบริโภคที่ประชาชนจัดมาถวาย พระสงฆ์จึงต้องให้ “ ความสว่างตามวิถีทางของพระพุทธศาสนา ” แก่ประชาชนกลับไปเป็นการตอบแทน ซึ่งถือว่าศีลธรรมเป็นเรื่องการช่วยเหลือผู้อื่นแล้ว จะอยู่เฉยๆโดยไม่ทำอะไรนั้นย่อมไม่ได้

» ศาสนวิทยาและจริยสังคมวิทยา

» ประวัติศาสตร์ของศาสนา

» ศาสนาแต่เบื้องบุพกาล

» วิญญาณนิยม และเทวนิยม

» ศาสนาแห่งความกลัว

» ศาสนาแห่งความสำนึกคุณ

» ศาสนาแห่งกลียุค

» แนวทางของจริยสังคมวิทยา

» กำเนิดและการแผ่พุทธศาสนา

» อารยธรรมดึกดำบรรพ์

» การแบ่งชนชั้นวรรณะในอินเดีย

» การค้นพบพุทธปรัชญา

» พระพุทธศาสนาในประเทศไทย

» การเสื่อมของพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย

» ญาณวิทยาของพระพุทธศาสนา

» ปรัชญาเถรวาทให้ข้อแนะนำไว้ในกาลามสูตร

» ก่อนที่จะยอมรับหลักคิดหรือความรู้ใด ๆ เป็นสรณะ

» ต้นกำเนิดความรู้ของมนุษย์

» หลักแห่งการทดสอบข้อเท็จจริง

» พุทธภววิทยา

» วิทยาอักซิโอในพุทธปรัชญาพุทธจริยศาสตร์

» พุทธปรัชญาเป็นลัทธิมัชฌิมาปฏิปทา

» ปรัชญาเถรวาทและสุนทรศาสตร์

» ปรัชญาเถรวาทและปฏิมากรรมวิทยา

» พุทธจริยศาสตร์ (BUDDHIST ETHICS )

» ความจำเป็นของจริยศาสตร์

» พุทธจริยศาสตร์ว่าด้วย “ กรรม ”

» ผลสนองของกรรม

» คำสอนว่าด้วยปรุงจิตต์แต่งกรรม

» ภารกิจของพระพุทธศาสนาต่อประเทศไทยและพุทธศิลปะในประเทศไทย

» ผลทางจิตใจ

» ผลทางวัตถุ

» สิ่งเคารพอันเป็นพระพุทธรูป

» สถาปัตยกรรมทางพระพุทธศาสนา

» ภาพศิลปะทางพระพุทธศาสนา

» วรรณคดีทางพระพุทธศาสนา

» ภาระกิจของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย

» พระสงฆ์

» นักศาสนา

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย