ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม >>

บทวิเคราะห์เรื่องพุทธปรัชญา

นักศาสนา

ภาระกิจของนักศาสนา คือการขวนขวายพยายามชักนำผู้อุปการะซึ่งเป็น คฤหัสถ์หรือประชาชนที่ห่างไกลจากศาสนามารับความสว่างทางพุทธธรรมไป เพื่อว่าเขาเหล่านั้นจะได้เกิดความสุขใจขึ้นภายใต้เงื้อมมือของนักบวชเป็นการตอบแทนความอุปการะดังกล่าว

ฉะนั้นองค์การศาสนาจึงต้องตื่นตัวขึ้นมาและพยายามทำการเผยแผ่พุทธธรรมออกนอกเขตวัด และไม่มุ่งเผยแผ่เฉพาะคำสอนทางธรรมเท่านั้นต้องรวมทางศิลปะด้วย ภาระกิจขององค์การพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในอนาคตก็คือ ใช้ศิลปะดึงดูดคนทั้งในและนอกประเทศให้ทำทางมาสู้พระพุทธศาสนาและใช้ปรัชญาให้ความสว่างแก่เขาในภายหลัง ถ้าเราไม่กำหนดภาระกิจขององค์การศาสนาไว้ให้ถูกต้องตามหลักวิทยาศาสตร์สังคมแล้ว ในขั้นสุดท้ายศาสนาของเราย่อมจะลับหายตายจากไปเองเป็นธรรมดา

» ศาสนวิทยาและจริยสังคมวิทยา

» ประวัติศาสตร์ของศาสนา

» ศาสนาแต่เบื้องบุพกาล

» วิญญาณนิยม และเทวนิยม

» ศาสนาแห่งความกลัว

» ศาสนาแห่งความสำนึกคุณ

» ศาสนาแห่งกลียุค

» แนวทางของจริยสังคมวิทยา

» กำเนิดและการแผ่พุทธศาสนา

» อารยธรรมดึกดำบรรพ์

» การแบ่งชนชั้นวรรณะในอินเดีย

» การค้นพบพุทธปรัชญา

» พระพุทธศาสนาในประเทศไทย

» การเสื่อมของพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย

» ญาณวิทยาของพระพุทธศาสนา

» ปรัชญาเถรวาทให้ข้อแนะนำไว้ในกาลามสูตร

» ก่อนที่จะยอมรับหลักคิดหรือความรู้ใด ๆ เป็นสรณะ

» ต้นกำเนิดความรู้ของมนุษย์

» หลักแห่งการทดสอบข้อเท็จจริง

» พุทธภววิทยา

» วิทยาอักซิโอในพุทธปรัชญาพุทธจริยศาสตร์

» พุทธปรัชญาเป็นลัทธิมัชฌิมาปฏิปทา

» ปรัชญาเถรวาทและสุนทรศาสตร์

» ปรัชญาเถรวาทและปฏิมากรรมวิทยา

» พุทธจริยศาสตร์ (BUDDHIST ETHICS )

» ความจำเป็นของจริยศาสตร์

» พุทธจริยศาสตร์ว่าด้วย “ กรรม ”

» ผลสนองของกรรม

» คำสอนว่าด้วยปรุงจิตต์แต่งกรรม

» ภารกิจของพระพุทธศาสนาต่อประเทศไทยและพุทธศิลปะในประเทศไทย

» ผลทางจิตใจ

» ผลทางวัตถุ

» สิ่งเคารพอันเป็นพระพุทธรูป

» สถาปัตยกรรมทางพระพุทธศาสนา

» ภาพศิลปะทางพระพุทธศาสนา

» วรรณคดีทางพระพุทธศาสนา

» ภาระกิจของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย

» พระสงฆ์

» นักศาสนา

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย