สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
ความสัมพันธ์ของนโยบายการเงิน การคลัง การค้าและอัตราแลกเปลี่ยน
- ความสมดุลภายในและความสมดุลภายนอก ชี้ให้เห็นถึงลักษณะของนโยบายการเงินและการคลังต่างๆ ที่มีผลต่อระบบเศรษฐกิจในลักษณะต่างกัน
- นโยบายสามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจให้ระบบเศรษฐกิจอยู่ในลักษณะสมดุลได้อย่างขัดกันหรือส่งเสริมก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับภาวะเศรษฐกิจและปัญหาดุลการชำระเงินของระบบเศรษฐกิจนั้น
- นโยบายการค้าและการปรับอัตราแลกเปลี่ยนทั้งในระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว ทำให้ประเทศเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ดุลยภาพได้
ความสมดุลภายในและภายนอกกับนโยบายการเงิน และนโยบายการคลัง
- ความสมดุลภายใน แสดงภาวะทางเศรษฐกิจที่ปราศจากภาวะเงินเฟ้อหรือการว่างงาน ความสมดุลภายนอก แสดงถึงการที่ระบบเศรษฐกิจไม่มีปัญหาดุลการชำระเงิน
- จุดดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจ หมายถึง จุดตัดของเส้นแสดงความสมดุลภายในและเส้นแสดงถึงความสมดุลภายนอก ณ จุดดังกล่าว ประเทศปราศจากปัญหาเงินเฟ้อ การว่างงาน และปัญหาดุลการชำระเงิน
- นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง
เป็นนโยบายที่สามารถปรับระบบเศรษฐกิจให้เข้าอยู่ในภาวะสมดุลได้
โดยที่นโยบายการเงินและการคลังอาจขัดแย้งกันหรือสนับสนุนกันก็ได้
Y = C+I+G+(X-M)
Y = รายได้ประชาชาติ
C = การบริโภค
I = การลงทุน
G = การใช้จ่ายของรัฐบาล
X = การส่งออก
M = การนำเข้า
ความสมดุลภายในกับนโยบายการเงิน และนโยบายการคลัง
เส้นแสดงความสมดุลภายใน คือ เส้นที่แสดงถึงภาวะสมดุลของระบบเศรษฐกิจภายใน ณ
ระดับการใช้นโยบายการเงินและการคลังต่างๆ
จุดที่มีอยู่บนเส้นแสดงถึงการที่ระบบเศรษฐกิจอยู่ในภาวะสมดุล
ไม่มีภาวะเงินเฟ้อและเงินฝืด
จุดที่อยู่ทางขวาแสดงถึงการที่ระบบเศรษฐกิจมีสภาพซบเซาหรือมีภาวะเงินฝืด
จุดที่อยู่ทางซ้ายแสดงถึงการที่ระบบเศรษฐกิจมีภาวะเงินเฟ้อ
ความสมดุลภายนอกกับนโยบายกานเงิน และนโยบายการคลัง
เส้นแสดงความสมดุลภายนอก คือ
เส้นที่แสดงว่าระบบเศรษฐกิจอยู่ในภาวะดุลการชำระเงินสมดุล
กล่าวคือไม่มีปัญหาการขาดดุลและเกินดุลการชำระเงินแต่อย่างใด
จุดที่อยู่ทางซ้ายมือของเส้นแสดงถึงสภาพการขาดดุลการชำระเงิน
จุดที่อยู่ทางขวามือของเส้น แสดงถึงสภาพดุลการชำระเงินเกินดุล
ความสมดุลภายในและความสมดุลภายนอก
จุดตัดของเส้นแสดงความสมดุลภายใน IB และเส้นแสดงความสมดุลภายนอก EB
แสดงความสมดุลทั้งภายในและภายนอกของระบบเศรษฐกิจ
ถ้าในระยะเวลาหนึ่งระบบเศรษฐกิจมีความไม่สมดุลเกิดขึ้น
การใช้นโยบายการเงินสามารถช่วยแก้ไขปัญหาความไม่สมดุลภายในได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนการใช้นโยบายการคลังจะช่วยแก้ไขความไม่สมดุลภายในได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ความสำคัญของเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
โครงสร้างและวิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
ประเทศกำลังพัฒนากับการค้าระหว่างประเทศ
เส้นความพอใจเท่ากัน
ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ (1)
ดุลยภาพของการค้าระหว่างประเทศสมัย นีโอคลาสสิก
ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ (2)
ทฤษฎีว่าด้วยสมภาพแห่งราคาปัจจัยการผลิต
ทฤษฎีอื่นๆ เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
อัตราการค้าและการวัดผลได้จากการค้าระหว่างประเทศ
นโยบายการค้าระหว่างประเทศโดยทั่วไป
นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน
ปัญหาการค้าระหว่างประเทศของประเทศกำลังพัฒนา
นโยบายการค้าระหว่างประเทศสำหรับประเทศกำลังพัฒนา
ความเจริญทางเศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศ
ผลของความเจริญทางเศรษฐกิจที่มีต่อการค้าระหว่างประเทศ
ผลของการค้าต่อความจำเริญทางเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนา
ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ
ความไม่สมดุลของดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ
สภาพดุลการชำระเงินระหว่างประเทศในปัจจุบัน
อัตราแลกเปลี่ยนและตลาดเงินตราต่างประเทศ
ตลาดเงินตราต่างประเทศ
ระบบการเงินระหว่างประเทศ
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่เปลี่ยนแปลงได้
ระบบมาตรปริวรรษทองคำ
ระบบการเงินระหว่างประเทศในปัจจุบัน
การลงทุนและความช่วยเหลือจากต่างประเทศ
ความหมายประเภท และบทบาทของการลงทุนจากต่างประเทศ
การลงทุนโดยตรงของเอกชนจากต่างประเทศ
การลงทุนโดยทางอ้อมจากต่างประเทศและความช่วยเหลือจากต่างประเทศ
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
ทฤษฎีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
องค์การระหว่างประเทศ
ธนาคารโลก
ข้อตกลงทั่วไปเกี่ยวกับการภาษีศุลกากรและการค้า
การประชุมว่าด้วยการค้าและการพัฒนาของสหประชาชาติ
ความสัมพันธ์ของนโยบายการเงิน การคลัง การค้าและอัตราแลกเปลี่ยน
นโยบายอัตราแลกเปลี่ยน นโยบายการค้ากับความสมดุลฯ
ผลที่มีต่อดุลการชำระเงินและรายได้ประชาชาติ
การค้า การเงินระหว่างประเทศและการลงทุนจากต่างประเทศของประเทศไทย
ปัญหาการค้าการเงินระหว่างประเทศและการลงทุนจากต่างประเทศ