ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ บุคคลสำคัญ ประเทศและทวีป >>
ประวัติการปฏิวัติรัฐประหารและกบฎ
ประวัติการปฏิวัติรัฐประหารและกบฎ ในประเทศไทย (2475 - 2534)
การก่อความไม่สงบ 9 กันยายน 2528
พันเอกมนูญ
รูปขจร นายทหารนอกประจำการ ได้นำกำลังทหาร และรถถังจาก ม.พัน 4
ซึ่งเคยอยู่ใต้บังคับบัญชา และกำลังทหารอากาศโยธินบางส่วน
ภายใต้การนำของนาวาอากาศโทมนัส รูปขจร เข้ายึดกองบัญชาการทหารสูงสุด และประกาศให้
พลเอกเสริม ณ นคร เป็นหัวหน้าคณะปฏิวัติยึดอำนาจการปกครองของประเทศ
ซึ่งเป็นเหตุการณ์ในขณะที่ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี และพลเอกอาทิตย์
กำลังเอก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และผู้บัญชาการทหารบก
อยู่ในระหว่างการไปราชการต่างประเทศ กำลังทหารฝ่ายรัฐบาลโดยการนำของพลเอกเทียนชัย
สิริสัมพันธ์ รองผู้บัญชากรทหารสูงสุด
ได้รวมตัวกันต่อต้านและควบคุมสถานการณ์ไว้ได้ในเวลาต่อมา พันเอกมนูญ รูปขจร
และนาวาอากาศโทมนัส รูปขจร หลบหนีออกนอกประเทศ
การก่อความไม่สงบในครั้งนี้มีอดีตนายทหารผู้ใหญ่หลายคน
ตกเป็นผู้ต้องหาว่ามีส่วนร่วมอยู่ด้วย ได้แก่ พลเอกเสริม ณ นคร พลเอกเกรียงศักดิ์
ชมะนันทน์ พลอากาศเอกพะเนียง กานตรัตน์ พลเอกยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
และพลอากาศเอกอรุณ พร้อมเทพ รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด
การปฏิวัติ 24 มิถุนายน 2475
รัฐประหาร 20 มิถุนายน 2476
กบฏบวชเดช 11 ตุลาคม 2476
กบฏนายสิบ 3 สิงหาคม 2478
กบฏพระยาทรงสุรเดช 29 มกราคม 2481
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490
กบฏแบ่งแยกดินแดน 28 กุมภาพันธ์ 2491
รัฐประหาร 6 เมษายน 2491
กบฏเสนาธิการ 1 ตุลาคม 2491
กบฏวังหลวง 26 มิถุนายน 2492
กบฏแมนฮัตตัน 29 มิถุนายน 2494
รัฐประหาร 29 พฤศจิกายน 2494
กบฏสันติภาพ 8 พฤศจิกายน 2497
รัฐประหาร 16 กันยายน 2500
รัฐประหาร 20 ตุลาคม 2501
รัฐประหาร 17 พฤศจิกายน 2514
ปฏิวัติโดยประชาชน 14 ตุลาคม 2516
ปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน 6 ตุลาคม 2519
รัฐประหาร 20 ตุลาคม 2520
กบฎ 26 มีนาคม 2520
กบฎ 1 เมษายน 2524
การก่อความไม่สงบ 9 กันยายน 2528
รัฐประหาร 23 กุมภาพันธ์ 2534
***เอกสารอ้างอิง : ศาสตราจารย์ ดร.ลิขิต ธีรเวคิน, "การเมืองการปกครองไทยของไทย"