สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
ต้นตอของขบวนการโลกาภิวัตน์
โครงสร้างอำนาจของทุน
การปรับโครงสร้างการผลิต
บทบาทของหนี้
โครงสร้างของโลกาภิวัตน์
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการเมืองของโลก
ความเปราะบางของระเบียบโลกใหม่
อัตลักษณ์และความรู้ : การเผชิญหน้ากับอนาคต
ความล้าสมัยของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศฯ
กระบวนการทางการเมืองและระเบียบโลก
พลังท้าทายของสรรพสิ่งมีชีวิต
ทางออกสู่รูปแบบใหม่ของสังคมเศรษฐกิจ
เชิงอรรถ
เชิงอรรถ
- Samuel P. Huntington, The Clash of Civilizations and the Remaking of World Order (New York : Simon & Schuster, 1996)
- Susan Strange, The Retreat of the State :The Diffusion of Power in the World Economy (Cambridge : Cam bridge University Press, 1996).
- Karl Polanyi, The Great Transformation : The Political Economic Origins of Our Time (Boston : Beacon Press, 1957)
- Francis Fukuyama, The End of History and the Last Man (New York : Avon Books, 1992).
- สำหรับเรื่องความแตกต่างระหว่างการแก้ปัญหาและทฤษฎีที่มีลักษณะวิพากษ์วิจารณ์ ให้อ่าน Robert W. Cox, Social Forces, States and World Orders : Beyond International Relations Theories, ใน Cox with Timothy J. Sinclair, Approaches to World Order (Cambridge : Cambridge University Press, 1996).
- การอภิปรายเรื่อง neo-realism ให้อ่าน Robert O. Keohane, ed., Neorealism and Its Critics (New York : Columbia University Press, 1986).
- ให้ดู Peter Drucker, The Changed World Economy, Foreign Affairs 64, 4 (Spring 1986) : 783. Drucker เขียนว่า ในเศรษฐกิจโลกปัจจุบัน เศรษฐกิจ แท้จริง ที่เกี่ยวกับเงิน เครดิต และทุน มิได้โยงใยกันอย่างใกล้ชิดต่อกัน ทั้งสองภาคกำลังแยกออกจากกัน
- สำหรับเรื่องราวของพฤติกรรมแปลกหรือพิกลของธุรกิจการเงิน ช่วงทศวรรษ 1980 ให้ดู Susan Strange, Casino Capitalism (Oxford : Basil Blackwell, 1986); ช่วงทศวรรษ 1990 . ให้ดู Susan Strange, Mad Money (Manchester : Manchester University Press, 1998)
- Bernadette Madeuf and Charles Albert Michalet, A New Approach to International Economics, International Social Science Journal 30, 2(1978)
- Rosenau และ E. O. Czempiel บรรณาธิการหนังสือชื่อ Governance Without Government (Cambridge : Cambridge University Press, 1992) เนื้อหาเป็นเรื่องมิติต่าง ๆ ของระเบียบโลก แม้ว่าจะมิใช่เรื่องการเงินระดับโลกโดยตรง หนังสือ Casino Capitalism ของซูซาน สเตรนช์ หน้า 165-9 เสนอว่าการควบคุมการเงินโดยใช้องค์กรระหว่างประเทศคงไม่ได้ผล จะมีแต่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาเท่านั้นที่จะควบคุมการเงินระดับโลกได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเข้าแทรกแซงตลาดการเงินที่นิวยอร์ค ซูซาน สเตรนช์กล่าวเสริมด้วยว่า รัฐบาลสหรัฐอเมริกามักกระทำการฝ่ายเดียวโดยไม่ปรึกษาใคร ค่อนข้างจะไม่รับผิดชอบในเรื่องการเงิน และไม่มีท่าทีว่าจะปรับปรุงพฤติกรรมของตน สำหรับตัวอย่างของการควบคุมแบบไม่เป็นทางการของภาคเอกชนให้ดู Timothy J. Sinclair, Passing Judgement : Credit Rating Processes as Regulatory Mechanisms of Governance in the Emerging World Order, Review of International Political Economy 1, 1 (1994).
- Robert W. Cox, Production Power and World Order : Social Forces in the Making of History (New York : Columbia University Press, 1987), 253-67.
- William I. Robinson, Promoting Polyarchy : Globalization, U.S. Intervention, and Hegemony (Cambridge : Cambridge University Press, 1996).
- ให้ดูเช่น Michel Albert, Capitalisme Centre Capitalisme (Paris : Seuil, 1991).
- การวิเคราะห์ทุนนิยมญี่ปุ่นให้ดู Shigeto-Tsuru, Japans Capitalism (Cambridge : Cambridge University Press, 1993).
- นักวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศใช้คำว่า Wesphalian หมายถึงระบบความสัมพันธ์ระหว่างรัฐที่เกิดขึ้นที่ยุโรปหลังการตกลงสันติภาพที่ Wesphalia ค.ศ. 1648.
- วิกฤตการเงินเอเชียปลายทศวรรษที่ 1990 ทำให้บริษัทธุรกิจของสหรัฐอเมริกาและยุโรป ซื้อธุรกิจของเอเชียได้จำนวนมาก ทำให้สามารถควบคุมเหนือการผลิตของเอเชีย ให้ดู บทความของ Michael Richardson ใน International Herald Tribune, 20-1 June 1998.
- Antinio Gramsei, Selection from the Prison Notebooks, ed. and Translated. Quintin Hoare and Geoffrey Nowell Smith (New York : International Publishers, 1971), 137, 366-77.
- Hedley Bull, The Anarchic Society (New York : Columbia University Press, 1977) คาดการณ์ว่า new medievalism อาจจะเป็นรูปแบบของระเบียบโลกในอนาคต.
- Susan Strange, The Name of the Game, ใน Nicholas X. Rizopoulos, ed. Sea Changes : American Foreign Policy in a World Transformed (New York : Council on Foreign Relations, 1990).
- ให้ดูเช่น Richard Rosecrance, The Rise of the Trading State (New York : Basic Books, 1986).
- Polanyi, The Great Transformation.
- ผู้เขียนไม่ประสงค์จะอภิปรายเรื่องการ ถดถอย ของสหรัฐอเมริกาอย่างเต็มที่ เพียงแต่จะเอ่ยถึงผลงานสองชิ้นที่ให้ความเห็นตรงกันข้ามกัน ได้แก่ Paul Kennedy, The Rise and Fall of the Great Powers (New York Random House 1987); และ Joseph S. Nye, Jr. Bound to Lead : The Changing Nature of American Power (New York Basic Books, 1990) มีการถกเถียงกันมากด้านข้อเท็จจริงพื้นฐานเรื่องว่า ผลิตภาพของสหรัฐอเมริกาตกต่ำเมื่อเทียบกับผลิตภาพของยุโรปและญี่ปุ่น และเรื่องว่าประชาชนของสหรัฐอเมริกาไม่ประสีประสาเรื่องการผลิต และไม่มีส่วนร่วมในการผลิตที่ productive มากเพียงใด การถกเถียงกันเกิดขึ้นระหว่างผู้มองโลกแง่ดี และผู้มองโลกแง่ร้ายว่าด้วยเรื่องภาวการณ์ดังกล่าวจะพลิกผันได้หรือไม่ ให้ดู Kennedy, Fin-de-siecle America, New York Review of Books, 28 June 1990.
- United Natins Rerearch Institute for Social Development, States of Disarray : The Social Effects of Globalization (London :UNRISD, 1995).
- งานเขียนสองชิ้นที่ได้รับการอภิปรายมากคือ Owald Spengler, The Decline of the West (New York : Knopf, 1939) และ Arnold J. Toynbee, A Study of History (งานชิ้นนี้เคยได้รับการตีพิมพ์เป็นเล่มใหญ่เล่มเดียว โดย Oxford University Press, 1946).
- Gordon Childe, What Happened in History (Harmondsworth : Renguin, 1957).
- Karl Marx, The 18th Brumaire of Luis Bonaparte (New York : International Publishers, 1969), 15.
- Fernand Braudel, History and the Soial Sciences : The longue duree, ใน Braudel, On History, trans. Sarah Mathews (Chicago : University of Chicago Press, 1980), 25-54.
- บรรษัทนิยม (corparalism) คือคำใช้ประยุกต์กับเศรษฐศาสตร์การเมืองรูปแบบต่าง ๆ ที่โยงรัฐกับธุรกิจอุตสาหกรรมและแรงงานในการบริหารจัดการระบบเศรษฐกิจของประเทศ รูปแบบนี้รวมไปถึงรัฐฟาสซิสม์ของอิตาลี และการจัดการระบบเศรษฐกิจในประเทศ อุตสาหกรรมก้าวหน้าสมัยที่ใช้ลิทธิเคนส์ และบรรษัทนิยมโดยรัฐของรัฐรวมศูนย์อำนาจของประเทศกำลังพัฒนา.
- ให้ดูเช่น Jean-Marie Guehenno, La fin de la democratic (Paris : Flammarion, 1993).
- Fantu Cheru, The Silent Revolution in Africa : Debt, Development and
Democracy (London : Zed Books, 1989).
Websites
World Trade Organisation : http // www.wto.org
International Monetary Fund : http : // www.imf.org
World Bank : http : // www.World bank.org
Organization for Economic Co-operation and Development : http : // ww.oecd.org
European Union Central : http : // ecuopa.cu.int.