สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
ระบอบรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(Constitutionalism and Thai Constitutions)
ความหมายของรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย
การบัญญัติ การบังคับใช้ และการตีความกฎหมายรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญ กับ กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญ กับการปกครองของประเทศอื่นๆ
รัฐธรรมนูญกับการปกครองของไทย
เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญไทย
บรรณานุกรม
ความหมายของรัฐธรรมนูญ
ลักษณะสำคัญของรัฐธรรมนูญ
การใช้รัฐธรรมนูญเป็นหลักในการปกครองทำให้รัฐธรรมนูญมีลักษณะสำคัญเฉพาะดังนี้
1. เป็นกฎหมายของรัฐ
2. เป็นหลักการการเมือง การปกครองประเทศ และการบริหารประเทศ
3. แก้ไขเปลี่ยนแปลงได้
4. มีศักดิ์ทางกฎหมายสูงกว่ากฎหมายอื่นของรัฐ
5. มีวิธีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขพิเศษจากกฎหมายอื่นๆ ของรัฐ
6.
การแก้ไขรัฐธรรมนูญที่เป็นการตรงกันข้ามกับระบอบการปกครองเดิมถือเป็นการล้มล้างการปกครองเดิม
7. เป็นกฎหมายที่บัญญัติถึงการออกกฎหมายต่างๆ เพื่อใช้ในการปกครอง
8. องค์กรต่างๆที่จะดำเนินการทางการเมืองการปกครองเกิดได้โดยบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
9. การแสดงประชามติของประชาชนจะถูกกำหนดในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งในระบบการเมือง
10. การกำหนดให้ผู้มีอำนาจทางการเมืองใช้อำนาจแต่เพียงผู้เดียวหรือกลุ่มเดียว
และเป็นการใช้อำนาจที่เป็นการกดขี่ประชาชนจะไม่นับว่าเป็นรัฐธรรมนูญ
11.
รัฐสภาจะถูกกำหนดให้เป็นสถาบันหลักในระบบการเมืองการปกครองโดยศูนย์อำนาจการปกครองจะอยู่ที่ฝ่ายนิติบัญญัติ
12. เป็นกฎหมายของรัฐที่บัญญัติเรื่องอำนาจรัฐเพื่อจำกัดอำนาจรัฐ
ซึ่งก็คือจำกัดอำนาจของผู้มีอำนาจและองค์กรต่างๆ ในรัฐธรรมนูญ
รูปแบบของรัฐธรรมนูญ
ที่มาของรัฐธรรมนูญ
ข้อกำหนดที่จำเป็นในรัฐธรรมนูญ
ลักษณะสำคัญของรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญกับการเป็นกฎหมายสูงสุด