ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>

ปรัชญาอินเดีย

ปรัชญานยายะ

เป็นปรัชญาที่ฤษีโคตมะ เป็นผู้ก่อตั้งขึ้น” นยายะ” แปลว่า การโต้แย้ง เป็นระบบปรัชญาที่เน้นหนักไปในทางส่งเสริมสติปัญญา การวิเคราะห์ และการโต้แย้งเชิงตรรกวิทยาและญาณวิทยา เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ตรรกศาสตร์

ปรัชญานยายะถือว่า ”ความรู้เป็นสิ่งที่เปิดเผยให้ปรากฏทั้งผู้รู้ (subject) และสิ่งที่ถูกรู้ (object) โดยที่ตัวความรู้เองไมม่ได้เป็นทั้งผู้รู้และสิ่งที่ถูกรู้ ความรู้ทุกประเภทเป็นสิ่งที่ถูกรู้ปรากฏตัวออกมา (ปรากฏตัวขึ้น) เหมือนดวงไฟที่ส่องสว่างทำให้วัตถุที่อยู่ในที่มืดปรากฏตัวขึ้นมา

 

การแบ่งยุคของปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาอินเดียสายอาสติก
ปรัชญาอินเดียยุคพระเวท
ปรัชญาอุปนิษัท
ปรัชญาภควัทคีตา
ปรัชญาอินเดียยุคระบบทั้ง 6
ปรัชญานยายะ
ปรัชญาไวเศษิกะ
ปรัชญาสางขยะ
ปรัชญาโยคะ
ปรัชญามีมามสา
ปรัชญาเวทานยะ
อทไวตะ เวทานตะ
ปรัชญาวิศิษทไวตะ เวทานตะ
พระเจ้าหรือพรหมัน
โมกษะ
ปรัชญาทไวตะ เวทานตะ
ปรัชญาอินเดียสายนาสติกะ
ปรัชญาเชน
ญาณวิทยา
อภิปรัชญา
จริยศาสตร์
ปฏิจจสมุปบาท
โมกษะหรือนิพพาน
นิกายทางพุทธศาสนา

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย