ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>
ปรัชญาไวเศษิกะ
ผู้ก่อตั้งคือ กนาทะ และคำว่า ไวเศษิกะนั้นแปลว่า วิเศษ
หมายถึงคุณลักษณะเฉพาะตัวของส่วนประกอบของสิ่งต่าง ๆ ในจักรวาล
คุณลักษณะเฉพาะตัวของสิ่งต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นจักรวาลนี้
นยายะถือว่ามีจำนวนนับประมาณมิได้ และแต่ละสิ่งมีลักษณะแตกต่างกัน
ปรัชญาไวเศษิกะเป็นปรัชญาคู่กับปรัชญานยายะ มีจุดมุ่งหมายเหมือนกันคือ
การหลุดพ้นจากทุกข์ของชีวาตมัน โดยมีสิ่งที่ควรศึกษาดังนี้
1.ทฤษฎีแห่งความรู้ คือ ยอมรับทฤษฎีแห่งความรู้ทั้งหมดของปรัชญานยายะ
และย่อทฤษฎีนั้นลงมาเป็น 2 อย่างคือ ปรัตยักษะ1 อนุมาน1
2.ปทารถะ กล่าวว่า
สิ่งที่เรารับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสเป็นสิ่งที่มีอยู่จริง
และสิ่งที่มีอยู่จริงนั้นมีจำนวนมากมายจนนับไม่ถ้วน
เป็นสิ่งที่เรารู้ได้หรือสิ่งที่มีอยู่จริงที่รับรู้ได้ทั้งหมด มี 7 อย่าง คือ
ทรัพยะ1 คุณ1 กรรมะ1 สามานยะ1 วิเศษ1 สมวายะ1 อภาวะ1
การแบ่งยุคของปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาอินเดียสายอาสติก
ปรัชญาอินเดียยุคพระเวท
ปรัชญาอุปนิษัท
ปรัชญาภควัทคีตา
ปรัชญาอินเดียยุคระบบทั้ง 6
ปรัชญานยายะ
ปรัชญาไวเศษิกะ
ปรัชญาสางขยะ
ปรัชญาโยคะ
ปรัชญามีมามสา
ปรัชญาเวทานยะ
อทไวตะ เวทานตะ
ปรัชญาวิศิษทไวตะ เวทานตะ
พระเจ้าหรือพรหมัน
โมกษะ
ปรัชญาทไวตะ เวทานตะ
ปรัชญาอินเดียสายนาสติกะ
ปรัชญาเชน
ญาณวิทยา
อภิปรัชญา
จริยศาสตร์
ปฏิจจสมุปบาท
โมกษะหรือนิพพาน
นิกายทางพุทธศาสนา