ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>
ปรัชญาเวทานยะ
ผู้ก่อตั้งคือ พาทรายนะ และเป็นผู้เรียบเรรียงคัมภีร์
เวทานตะสูตร เป็นการสอบสวนในส่วนสุดท้าย หรือเบื้องปลายของคัมภีร์พระเวท
ได้แก่การสอบสวนพิจารณาอุปนิษัท คำว่า เวทานตะ แปลว่า ที่สุดของพระเวท
หรือหมายถึงความรู้ที่สูงสุด
ปรัชญาเวทานตะแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มด้วยกัน คือ
1. อทไวตะ เวทานตะ
2. วิศิษตะ ทไวตะ เวทานตะ
3. ทไวตะ เวทานตะ
1. อทไวตะ เวทานตะ
เกิดขึ้นสมัยของ เคาฑปาทะ และพัฒนาถึงขีดสุดยอดในสมัยของ ศังกราจารย์
ซึ่งเป็นนักปรัชญาฮินดู ที่มีชื่อเสียงที่สุด เกิด ค.ศ. 788820 มีอายุเพียง 32 ปี
วรรณคดีที่ถือว่าสำคัญ และเป็นที่มาของอทไวตะ เวทานตะ ได้แก่ อรรถกถา 3
เรื่อง คือ
1. อรรถกถา อุปนิษัท (ของศังกราจารย์)
2. อรรถกถา ภควัทคีตา
3.
อรรถกถา พรหมสูตร (ของพาทรายนะ)
การแบ่งยุคของปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาอินเดียสายอาสติก
ปรัชญาอินเดียยุคพระเวท
ปรัชญาอุปนิษัท
ปรัชญาภควัทคีตา
ปรัชญาอินเดียยุคระบบทั้ง 6
ปรัชญานยายะ
ปรัชญาไวเศษิกะ
ปรัชญาสางขยะ
ปรัชญาโยคะ
ปรัชญามีมามสา
ปรัชญาเวทานยะ
อทไวตะ เวทานตะ
ปรัชญาวิศิษทไวตะ เวทานตะ
พระเจ้าหรือพรหมัน
โมกษะ
ปรัชญาทไวตะ เวทานตะ
ปรัชญาอินเดียสายนาสติกะ
ปรัชญาเชน
ญาณวิทยา
อภิปรัชญา
จริยศาสตร์
ปฏิจจสมุปบาท
โมกษะหรือนิพพาน
นิกายทางพุทธศาสนา