ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม >>
ตำนานอุรังคธาตุ
ในทุกสังคมที่มีประวัติการสร้างบ้านแปงเมืองในอดีตที่ย้อนไปอย่างยาวไกล ล้วนแต่มีเรื่องเล่าถึงความเป็นมาแห่งบรรพชนในลักษณะเหนือจริง โดยมีการเชื่อมโยงเรื่องราวเข้ากับคติความเชื่อในทางศาสนา ที่เป็นที่รับรู้กันอยู่ในสังคมนั้น ตำนานจึงเปรียบเสมือนคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ เป็นเรื่องของความจริงที่แท้ ไม่ต้องพิสูจน์และเป็นแนวทางปฏิบัติให้สังคม จึงมีการให้ความหมายว่าตำนานเป็นเครื่องชี้แนวทางปฏิบัติให้สังคม สิ่งที่ปรากฏเป็นเนื้อหาในตำนานก็ต้องเป็นความจริงแท้ ไม่เปลี่ยนแปลง หรือเป็นสิ่งที่เลียนแบบจากความจริงนั้น ผู้คนในสังคมโบราณมีลักษณะความคิดที่เห็นความจริงเฉพาะจากการที่ความจริงนั้นสะท้อนแบบมาจากความจริงสูงสุด (Primordial Act) ความจริงในตำนานจึงหมายถึงการแสวงหาบุญกุศลเพื่อนำไปสู่การก้าวข้ามสังสารวัฏ และบรรลุถึงนิพพานในที่สุด
ตำนานในความหมายของการเป็นรากฐานอารยธรรม
ความสำคัญตำนานอุรังคธาตุ
สาระสำคัญจากตำนานอุรังคธาตุ
การลำดับเรื่องราวในตำนานอุรังคธาตุ
ช่วงระยะเวลาก่อนพระพุทธเจ้าเข้าสู่ปรินิพพาน
ช่วงระยะเวลาหลังจากพระพุทธเจ้าเข้าสู่ปรินิพพาน 8 ปี
ช่วงร่วมระยะเวลาเดียวกันกับพระเจ้าอโศก
ช่วงระยะเวลาแห่งราชอาณาจักรลาวล้านช้าง
ระยะเวลาในการเรียบเรียงตำนานอุรังคธาตุ
พระธาตุพนมในมิติของการเป็นศูนย์กลางของรัฐโบราณ :
แคว้นศรีโคตรบูร
ตำนานอุรังคธาตุคือตำนานของการสร้างความสัมพันธ์ของผู้คนในลุ่มแม่น้ำโขง
ชุมชนโบราณที่แสดงถึงการมีอยู่ของแคว้นศรีโคตรบูร
บทส่งท้าย
เอกสารอ้างอิง
- ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. ประชุมพระนิพนธ์เกี่ยวกับตำนานทางพุทธ ศาสนา . พระนคร : โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม, 2514.
- ตำนานพุทธเจดีย์. กรุงเทพฯ : คุรุสภา, 2518.
- ธิดา สาระยา. ตำนานและตำนานประวัติศาสตร์ กับการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กรุงเทพฯ : พิทักษากรการพิมพ์, 2525.
- พระธรรมราชานุวัตร (แก้ว อุทุมมาลา). อุรังคนิทาน ตำนานพระธาตุพนม (พิสดาร) พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : นีลนาราการพิมพ์, 2537.
- พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. บทนำเสนอ, ใน อุรังคนิทาน ตำนานพระธาตุพนม หน้า 4 - 24. กรุงเทพฯ : เรือนแก้วการพิมพ์, 2521.
- มหาสิลา วีระวงส์. ประวัติศาสตร์ลาว แปลโดย สมหมาย เปรมจิตต์. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2535.
- ศรีศักร วัลลิโภดม.อีสานในตำนานอุรังคธาตุ, ใน แอ่งอารยธรรมอีสาน หน้า 8 - 57. กรุงเทพฯ : มติชน, 2533
- ความหมายพระบรมธาตุในอารยธรรมสยามประเทศ. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2546.
- แอมอนิเย, เอเจียน . บันทึกการเดินทางในลาว ภาคหนึ่ง พ.ศ. 2438. แปลโดยทองสมุทร โดเร และสมหมายเปรมจิตต์. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2521.
- บันทึกการเดินทางในลาว ภาคสอง พ.ศ. 2440. แปลโดยทองสมุทร โดเร และ สมหมาย เปรมจิตต์. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2541.
- Delaporte, Louis and Francis Garnier. A Pictorial Journey on the Old Mekong. Bangkok : white Lotus, 1998.
- Le May, Reginald. A Concise History of Buddhist Art in Siam. Tokyo : Charles E. Tuttle Co. 1962.