สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน

ความหมายของการพัฒนา แนวคิด และวิวัฒนาการ
ความหมายของทฤษฎีและทฤษฎีการพัฒนา
ปรัชญา อุดมการณ์ของการพัฒนาชุมชน
แนวคิดและความหมายของชุมชนและการพัฒนาชุมชน
ประวัติความเป็นมาของการพัฒนาและการพัฒนาชุมชนในประเทศไทย
หลักการพัฒนาชุมชน
บรรณานุกรม

บรรณานุกรม

  • กาญจนา แก้วเทพ. การพัฒนาแนววัฒนธรรมชุมชน. กรุงเทพมหานคร : สภาคาทอลิกแห่งประเทศไทยเพื่อการพัฒนา, 2538.
  • กาญจนา แก้วเทพ. การพึ่งตนเองศักยภาพในการพัฒนาชนบท. กรุงเทพมหานคร : รุ่งเรืองสาสน์การพิมพ์, 2530.
  • คมสัน หุตะแพทย์, บรรณาธิการ. พัฒนาสังคม รวมบทความด้านการพัฒนาสังคมขององค์การพัฒนาเอกชน, ม.ป.ท., 2527.
  • จิตติ มงคลชัยอรัญญา. การศึกษาชุมชนเพื่อการพัฒนา. (เอกสารประกอบการเรียนภาควิชาการพัฒนาชุมชน). กรุงเทพมหานคร : คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2540.
  • จิตจำนงค์ กิติกีรติ. การพัฒนาชุมชน : การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร, 2532.
  • เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง. การบริหารการพัฒนาชนบท. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2526.
  • ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่. ศูนย์วิจัยและผลิตตำรา มหาวิทยาลัยเกริก, 2540.
  • ชัยอนันต์ สมุทวณิช. วัฒนธรรมคือทุน. กรุงเทพมหานคร : บริษัทสุขุมและบุตร จำกัด, 2540.
  • ฑิตยา สุวรรชฎ. “ชุมชนชนบทไทย.” ใน การบริหารงานพัฒนาชุมชน. หน้า 27-30. จักรกฤษณ์ นรนิติ ผดุงการ บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2527.
  • ทนงศักดิ์ คุ้มไข่น้ำ. การพัฒนาเชิงปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : บพิธการพิมพ์, 2534.
  • ทวีศักดิ์ นพเกษร. วิกฤตสังคมไทย 2510 กับบทบาทวิทยากรกระบวนการเล่มที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนเพื่อสังคม ธนาคารออมสิน, 2542.
  • นักวิจัยประจำสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. องค์กรชุมชนกลไกเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม. กรุงเทพมหานคร : บริษัท แปลน พริ้นติ้ง จำกัด, 2540.
  • บัณฑร อ่อนดำ และวิริยา น้อยวงศ์ นยางค์. ยุทธศาตร์ในการพัฒนาชนบท : ประสบการณ์ของประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาการพัฒนาชุมชน คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2533.
  • ประสาร ทองภักดี. ระบบการศึกษาของพระพุทธเจ้า. กรุงเทพมหานคร : ดำรงการพิมพ์, 2520.
  • ประเวศ วะสี. ศักดิ์ศรีแห่งความเป็นคน ศักยภาพแห่งความสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน, 2540.
  • ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. “การพัฒนาแนวพุทธ : ความเสมอภาคและความยุติธรรม.” ใน วิธีวิทยาศึกษาสังคมไทย : วิธีใหม่แห่งการพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 2. จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร, บรรณาธิการ. โครงการส่งเสริมองค์กรพัฒนาเอกชนไทย, เอดิสัน เพรสโปรดักส์, 2537.
  • พิทยา ว่องกุล. แนวคิดฝ่าวิกฤตทุนนิยมไร้พรมแดน เศรษฐธรรมและอธิปไตยชุมชนไทย. กรุงเทพมหานคร : บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539.
  • ไพบูลย์ เจริญทรัพย์. การส่งเสริมและการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน. กรุงเทพมหานคร : บริษัท นวกนก จำกัด, 2534.
  • ไพรัตน์ เตชะรินทร์. ใน ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์, บรรณาธิการ. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : ศักดิ์โสภาการพิมพ์, 2527.
  • แฟงซ์ แกงกอล์ฟ ไฮม, อคิน รพีพัฒน์ และเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง. คู่มือพัฒนา : วิธีการทำงานกับเกษตรกร. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2524.
  • ยงยุทธ บุราสิทธิ์. “เทคนิคการกระตุ้นชาวบ้านให้เกิดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน.” วารสารพัฒนาชุมชน. ปีที่ 29 (ธันวาคม 2533).
  • ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. หลักการพัฒนาชุมชนและหลักการพัฒนาชนบท. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ไทยอนุเคราะห์, 2526.
  • วีรวัฒน์ นนทบุตร. “การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชนบท.” วารสารการพัฒนาชุมชน. ปีที่ 30 (มี.ค. – มิ.ย. 2535.)
  • วุฒิชัย จำนง. การเรียนรู้กับการฝึกอบรม. กรุงเทพมหานคร : แผนกการพิมพ์ ห้างหุ้นส่วนจำกัด เกษมสุวรรณ, 2513.
  • สนธยา พลศรี. ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2533.
  • สัญญา สัญญาวิวัฒน์. การพัฒนาชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, 2525.
  • ---------------. ทฤษฎีและกลยุทธ์การพัฒนาสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540.
  • เสรี พงศ์พิศ และคณะ. ทิศทางหมู่บ้านไทย. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์หมู่บ้าน, 2531.
  • อคิน รพีพัฒน์, ม.ร.ว. “การศึกษาและวิเคราะห์ชุมชนในการวิจัยเชิงคุณภาพ.” ใน คู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่องานพัฒนา. อุทัย ดุลยเกษม, บรรณาธิการ. ขอนแก่น : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2536.
  • ---------------. ปัญหาการพัฒนาชนบท บทเรียนจากกรณียกกระบัตร โครงการพัฒนาชนบทลุ่มน้ำแม่กลอง. ขอนแก่น : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2531.
  • อนุชาติ พวงสำลี และวีรบูรณ์ วิสารทสกุล. ประชาสังคม คำ ความคิด และความหมาย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา, 2541.
  • อภิชัย พันธเสน. แนวคิด ทฤษฎี และภาพรวมของการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539.
  • อริยา เศวตามร์. “นักพัฒนากับบทบาทในการสร้างความหมายใหม่ของชุมชน.” ใน เศรษฐศาสตร์การเมือง เอ็นจีโอ 2000. ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ, บรรณาธิการ. ศูนย์เศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.
  • อเนก เหล่าสุวรรณทัศน์. ประชาสังคมในมุมมองตะวันตก อ่านและสอนที่จอห์นส์ ฮอปกินส์. กรุงเทพมหานคร : สถาบันการเรียนรู้และพัฒนาประชาสังคม, 2542.

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย