สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
กฎหมาย
เมื่อมนุษย์ได้มาอยู่รวมกันในสังคม การติดต่อสมาคม เพื่อแลกเปลี่ยนปัจจัยอันจำเป็นในการดำเนินชีวิตก็เกิดมีขึ้น ในแต่ละสังคม จึงมีความจำเป็นที่จะต้องสร้างกฎเกณฑ์ต่างๆ ขึ้นมา เพื่อควบคุมความประพฤติของสมาชิกในสังคม และรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อย ตลอดจนความสงบสุขของสังคมไว้ ข้อบังคับหรือกฎเกณฑ์ต่างๆที่รัฐกำหนดขึ้นเพื่อควบคุมความประพฤติของมนุษย์ในสังคมก็คือ กฎหมาย
รัฐทุกรัฐในโลกต่างก็ปกครองด้วยกฎหมายทั้งสิ้น ทุกสังคมจำเป็นต้องมีกฎหมายเพื่อความสงบเรียบร้อยของสังคม ในทางรัฐศาสตร์ถือว่า กฎหมายเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้มีการควบคุมภายในรัฐ เกิดความสงบ ความเป็นระเบียบ ความยุติธรรม ทั้งกิจการส่วนบุคคลและการสาธารณะ กฎหมายเป็นเครื่องมือปกป้องสิทธิ์ และกำหนดหน้าที่ให้แก่พลเมืองภายในรัฐ เพื่อประโยชน์สุขของชุมชนส่วนใหญ่ การศึกษาเรื่องกฎหมายมีมาตั้งแต่สมัยกรีกและโรมัน อริสโตเติล กล่าวว่า กฎหมายคือข้อบังคับที่ประกอบด้วยเหตุผลในชุมชน ส่วนชาวโรมันกล่าวว่า เมื่อมีสังคมก็ต้องมีกฎหมาย
ความสำคัญระหว่างรัฐกับสังคม
กลไกในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ
กฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายตามแบบพิธี
การจัดลำดับความสำคัญของกฎหมาย
พระราชบัญญัติและประมวลกฎหมาย
พระราชกำหนด
พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง
เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติจังหวัด ข้อบังคับสุขาภิบาล
ที่มาของกฎหมาย
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายภายในประเทศ (National Law)
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
วัฒนธรรมหรือประเพณี
ผลของการมีความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม