สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
การจัดลำดับความสำคัญของกฎหมาย
กฎหมายที่ออกมาบังคับใช้นั้น อาจจะออกโดยอาศัยอำนาจขององค์การที่ต่างกัน (คำว่า ออก ต่างจากคำว่า ตรา ผู้มีอำนาจออกคือผู้พิจารณาและอนุมัติให้เป็นกฎหมาย ส่วนผู้ที่มีอำนาจตรา คือ ผู้ที่ลงนามให้เป็นกฎหมาย ก่อนที่จะประกาศใช้) เช่น กฎหมายที่ออกโดยองค์กรนิติบัญญัติสูงสุดของประเทศ คือ รัฐสภา หรือกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหารหรือรัฐบาล หรือกฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองตนเอง ซึ่งได้รับมอบอำนาจจากรัฐสภา ให้ออกกฎหมายได้ ในบรรดากฎหมายเหล่านี้ จัดเป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษร ที่มีระดับชั้นต่างกัน
ความสำคัญระหว่างรัฐกับสังคม
กลไกในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ
กฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายตามแบบพิธี
การจัดลำดับความสำคัญของกฎหมาย
พระราชบัญญัติและประมวลกฎหมาย
พระราชกำหนด
พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง
เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติจังหวัด ข้อบังคับสุขาภิบาล
ที่มาของกฎหมาย
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายภายในประเทศ (National Law)
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
วัฒนธรรมหรือประเพณี
ผลของการมีความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม