สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

การเมืองการปกครอง

ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม

รัฐธรรมนูญ (Constitution)

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

คำว่ากฎหมายรัฐธรรมนูญ ( Constitutional law ) กับคำว่ารัฐธรรมนูญ ( Constitution )ในทางวิชาการมีความหมายแตกต่างกัน คำว่ากฎหมายรัฐธรรมนูญ หมายถึงกฎหมายสาขามหาชน ที่วางระเบียบเกี่ยวกับสถาบันทางการเมืองของรัฐ เช่น สถาบันประมุขของรัฐ สถาบันนิติบัญญัติ สถาบันบริหาร สถาบันตุลาการ ฯลฯ เป็นต้น การศึกษาวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ จึงเป็นการศึกษาถึงกฎเกณฑ์ องค์กร ตลอดจนสถาบันต่างๆ ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ กฎหมายรัฐธรรมนูญมีความหมายกว้าง เพราะจะหมายถึงกฎหมายหลายฉบับ หลักเกณฑ์หลายเรื่อง สถาบันทางการเมืองหลายสถาบันในรัฐ รวมทั้งครองคลุมถึงรัฐธรรมนูญ และคลุมถึงกฎเกณฑ์การปกครองประเทศ ที่ไม่ เป็นลายลักษณ์อักษรด้วย (เช่นกฎเกณฑ์การปกครองของประเทศอังกฤษ) กฎหมายรัฐธรรมนูญจึงเป็นชื่อรวม ใช้เรียกกฎหมายต่างๆ เกี่ยวกับ สถาบันการเมือง แต่รัฐธรรมนูญ เป็นชื่อเฉพาะของกฎหมาย เป็นหนึ่งในกฎหมายหลายประเภทของกฎหมายรัฐธรรมนูญเท่านั้น ดังนั้นเวลาเราพูดถึงรัฐธรรมนูญเราจะหมายถึงกฎหมายฉบับหนึ่งที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับการวางระเบียบในการปกครองประเทศ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายที่มีความ สำเร็จเด็จขาดในตัวเอง แสดงความเป็นกฎหมายอยู่ในตัว แต่เมื่อพูดถึงวิชาที่ใช้เรียนและเรียกกันทั่วไป ซึ่งเป็นเรื่องของหลักการหรือทฤษฎีเราจะเรียกว่าเรียนวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ

ความหมายของรัฐธรรมนูญ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
ประเภทของรัฐธรรมนูญ (Classification of Constitution)
วิธีการได้มาซึ่งรัฐธรรมนูญ
ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ
ที่มาของรัฐธรรมนูญ
ประโยชน์และความจำเป็นของการมีรัฐธรรมนูญ
ลักษณะของรัฐธรรมนูญที่ดี
ความเป็นมาของรัฐธรรมนูญไทย
รัฐธรรมนูญไทย(ฉบับแรก-ฉบับปัจจุบัน)
ประวัติรัฐธรรมนูญไทย
ฉบับที่ 2 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475
ฉบับที่ 3 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489
ฉบับที่ 4 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490
ฉบับที่ 5 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492
ฉบับที่ 6 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติมพุทธศักราช 2495
ฉบับที่ 7 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502
ฉบับที่ 8 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511
ฉบับที่ 9 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515
ฉบับที่ 10 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517
ฉบับที่ 11 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519
ฉบับที่ 12 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520
ฉบับที่ 13 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521
ฉบับที่ 14 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534
ฉบับที่ 15 รัฐธรรมแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534
ฉบับที่ 16 รัฐธรรมแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
สรุปและวิเคราะห์

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย