สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
การเลือกตั้ง
กระบวนการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยถือว่า การเลือกตั้งเป็นขั้นตอนสำคัญประการหนึ่ง เพราะในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยถือว่าอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศเป็นของประชาชนทุกคนในประเทศ แต่รัฐไม่สามารถจะให้คนทุกคนเข้ามาบริหารประเทศโดยตรงได้ รัฐจึงได้ใช้วิธีการเลือกผู้แทนราษฎรเข้ามาในสภาเพื่อทำหน้าที่แทนประชาชนทั้งประเทศและผู้แทนเหล่านั้นก็ต้องดำเนินงานไปเพื่อสนองเจตนารมณ์ของประชาชนส่วนใหญ่ การเลือกตั้งจึงเป็นวิธีหนึ่งที่จะเปิดโอกาสให้ประชาชนเพื่อเลือกเอาตัวแทนของตนเข้าไปปฏิบัติหน้าที่ แต่ในทางปฏิบัติแล้ว การเลือกตั้งเพื่อให้สิทธิทางการเมืองนั้นก็ไม่สามารถที่มอบให้กับคนทุกคนในประเทศมีความเสมอภาคกันได้ เช่น เยาวชน คนวิกลจริต ผู้ต้องโทษจำคุก คนต่างด้าว ภิกษุสามเณร นักพรตนักบวช เป็นต้น ฉะนั้นการที่รัฐจะให้ใครมีสิทธิทางการเมืองเกี่ยวกับการเลือกตั้งขนาดไหนเพียงไรก็จะต้องตราเป็นตัวบท กฎหมายออกมาบังคับใช้ให้แน่นอน เช่น เกี่ยวกับสิทธิผู้ออกเสียงเลือกตั้งและคุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้ง เป็นต้น
รัฐสภา (Parliament)
ประเภทของรัฐสภา
พรรคการเมือง (Political Party)
ความหมายของพรรคการเมือง
องค์ประกอบของพรรคการเมือง
ความสำคัญของพรรคการเมือง
ระบบของพรรคการเมือง
โครงสร้างของพรรคการเมือง
บทบาทและหน้าที่ของพรรคการเมือง
พรรคการเมืองไทย
ประเภทของพรรคการเมืองไทย
การจัดตั้งพรรคการเมืองไทย
ลักษณะของพรรคการเมืองไทย
การเลือกตั้ง
ความสำคัญของการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย
หลักเกณฑ์ของการเลือกตั้ง
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของไทย
วิธีการเลือกตั้งของไทย
การเลือกตั้งโดยวิธีรวมเขต
ข้อดีของการเลือกตั้งแบบรวมเขต
ข้อเสียของการเลือกตั้งแบบรวมเขต
การเลือกตั้งโดยวิธีแบ่งเขต
คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้งและผู้สมัครรับเลือกตั้ง
วิธีดำเนินการเลือกตั้ง