สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
องค์ประกอบของพรรคการเมือง
พรรคการเมืองที่มีการรวมกลุ่มขึ้นจากบุคคลที่มีแนวความคิดคล้ายคลึงกัน มีผลประโยชน์ร่วมกันดังกล่าวนั้น โดยทั่วไปจะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ประการ คือ
1. พรรคการเมืองจะต้องประกอบด้วยคณะบุคคลหรือสมาคม มีการจัดสรรเป็นองค์กรโดยรวมเอาบุคคลหลาย ๆ คนที่มีความคิดเห็นตรงกันในหลักการแห่งการอำนวยการปกครองอย่างใดอย่างหนึ่ง
2.ความคิดรวบยอด ความจำเป็นทางเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมและการเมืองการปกครองเกิดขึ้นในสังคมมนุษย์ ทั้งที่เป็นสภาพการณ์ดีและเลว ช่วยให้มีบุคคลและคณะบุคคลรวมตัวกันเพื่อแลกเปลี่ยนแนวความคิด โดยมีจุดมุ่งหมายอันเดียวกันคือต้องการพัฒนาบ้านเมืองของตน
3.สมาชิกพรรค ส่วนที่จะขาดเสียมิได้ของพรรคการเมืองก็คือสมาชิก พรรคการเมืองมีจุดมุ่งหมายสูงสุด เพื่อเข้าไปเป็นรัฐบาลที่จะได้กำหนดนโยบายในการบริหารประเทศ จึงมีความจำเป็นที่พรรคการเมืองจะต้องเลือกเฟ้นหาสมาชิกพรรคที่มีความรู้ความสามารถสูงเข้ามาร่วมพรรค
รัฐสภา (Parliament)
ประเภทของรัฐสภา
พรรคการเมือง (Political Party)
ความหมายของพรรคการเมือง
องค์ประกอบของพรรคการเมือง
ความสำคัญของพรรคการเมือง
ระบบของพรรคการเมือง
โครงสร้างของพรรคการเมือง
บทบาทและหน้าที่ของพรรคการเมือง
พรรคการเมืองไทย
ประเภทของพรรคการเมืองไทย
การจัดตั้งพรรคการเมืองไทย
ลักษณะของพรรคการเมืองไทย
การเลือกตั้ง
ความสำคัญของการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย
หลักเกณฑ์ของการเลือกตั้ง
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของไทย
วิธีการเลือกตั้งของไทย
การเลือกตั้งโดยวิธีรวมเขต
ข้อดีของการเลือกตั้งแบบรวมเขต
ข้อเสียของการเลือกตั้งแบบรวมเขต
การเลือกตั้งโดยวิธีแบ่งเขต
คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้งและผู้สมัครรับเลือกตั้ง
วิธีดำเนินการเลือกตั้ง