สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

การเมืองการปกครอง

ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม

รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง

โครงสร้างของพรรคการเมือง

การวางแผนจัดตั้งพรรคการเมือง จุดใหญ่ต้องมุ่งที่โครงสร้างเป็นสำคัญ เพราะจะนำไปสู่ความเข้มแข็งและความอ่อนแอทางการเมืองได้ ดังนั้น โครงสร้างของพรรคการเมืองควรมี ดังนี้

1. การจัดรูปองค์กรของพรรคการเมืองต้องมีการแบ่งงานออกเป็นสาขา ๆ และกำหนดสายการบังคับบัญชา นับแต่ส่วนกลางไปถึงระดับท้องถิ่นเพื่อช่วยรณรงค์หาเสียงในการเลือกตั้งให้เป็นไปอย่างกว้างขวางและทั่วถึง

2.กลไกของพรรค การทำงานของทุกส่วนภายในพรรคจะต้องมีการประสานกันจึงจะทำให้กิจการของพรรคดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น มีหน่วยงานในสาขาที่จำเป็นและมีหัวหน้ารับผิดชอบอันได้แก่ สำนักงานเลขาธิการ ฝ่ายรณรงค์หาเสียง นโยบายและการเมือง ฝ่ายการคลัง และองค์กรสนับสนุนต่าง ๆ

3.นโยบายพรรค ควรมีการวางนโยบายพรรคไว้กว้าง ๆ เพื่อให้สามารถมีความคล้องกับสถานการณ์และนโยบายของพรรค ควรจักต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมพรรคและประกาศให้ประชาชนทั่วไปได้รับทราบ

4.การเงินของพรรค เงินเป็นปัจจัยสำคัญในการบริหารงานของพรรคให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ เพราะพรรคต้องใช้จ่ายเงินจำนวนมากในการหาเสียง การพิมพ์เอกสารอุปกรณ์และเครื่องใช้ในสำนักงาน ส่วนที่มาของเงินของพรรคอาจได้มาในหลายทาง เช่น ได้มาจากค่าบำรุงสมาชิกและรายได้อื่น ๆ ของพรรค

5. การประชุมพรรค โดยปกติแล้วจะมีการประชุมพรรคทุกระดับ เพื่อแสดงถึงผลที่ได้ดำเนินการไปแล้ว การแสดงงบดุลการใช้จ่าย รวมถึงการกำหนดนโยบายทั่วไป

รัฐสภา (Parliament)
ประเภทของรัฐสภา
พรรคการเมือง (Political Party)
ความหมายของพรรคการเมือง
องค์ประกอบของพรรคการเมือง
ความสำคัญของพรรคการเมือง
ระบบของพรรคการเมือง
โครงสร้างของพรรคการเมือง
บทบาทและหน้าที่ของพรรคการเมือง
พรรคการเมืองไทย
ประเภทของพรรคการเมืองไทย
การจัดตั้งพรรคการเมืองไทย
ลักษณะของพรรคการเมืองไทย
การเลือกตั้ง
ความสำคัญของการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย
หลักเกณฑ์ของการเลือกตั้ง
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของไทย
วิธีการเลือกตั้งของไทย
การเลือกตั้งโดยวิธีรวมเขต
ข้อดีของการเลือกตั้งแบบรวมเขต
ข้อเสียของการเลือกตั้งแบบรวมเขต
การเลือกตั้งโดยวิธีแบ่งเขต
คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้งและผู้สมัครรับเลือกตั้ง
วิธีดำเนินการเลือกตั้ง

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย