สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

การเมืองการปกครอง

ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม

ประชาชนกับบทบาททางการเมือง

ปัจจัยที่เอื้อต่อมติมหาชน

W. Phillips Davidson ได้ให้ทัศนะว่า มติมหาชนอาจเกิดขึ้นและมีขบวนการ ดังนี้

1. มีประเด็นปัญหาเกิดขึ้นในสังคมซึ่งโดยปกติแล้วจะเกี่ยวข้องกับเรื่องสำคัญ ๆ เช่น เรื่องเกี่ยวกับกฎหมายภาษีอากร เป็นต้น
2. ปัญหาดังกล่าวจะเกิดขึ้นในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งก่อน ซึ่งเรียกว่า กลุ่มปฐมภูมิ (Primary Groups) ซึ่งเป็นกลุ่มชนกลุ่มเล็ก ๆ โดยกลุ่มดังกล่าวจะหยิบยกปัญหาขึ้นมาพิจารณาและวิเคราะห์กัน
3. ต่อมาจะเกิดผู้นำของกลุ่มนี้ขึ้น และมีการเสนอแนวความคิดเห็นในการแก้ปัญหานั้นและมีการถกเถียงกันอย่างจริงจัง
4. ความคิดเห็นและข้อเสนอต่าง ๆ จากกลุ่มนี้จะถูกกระจายไปเรื่อย ๆ โดยเริ่มจากสังคมหนึ่งไปสู่อีกสังคมหนึ่ง
5. การให้ทัศนะต่าง ๆ การวิพากษ์ วิจารณ์ จะกระทำกันอย่างกว้างขวางมีการกระตุ้นให้เกิดความรู้สึกต่อประเด็นปัญหานั้นที่รุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ โดยบุคคลที่มุ่งหวังเพื่อให้เกิดมติมหาชน
6. การปฏิบัติการและปฏิกิริยาต่าง ๆ จะเริ่มเกิดขึ้นทั่ว ๆ ไปและไปสู่การเคลื่อนไหวโดยทั่วไป ท้ายที่สุดมติมหาชนก็ได้เกิดขึ้น

สิทธิหน้าที่ของประชาชน (Right–Obigation of People)
ความสำนึกทางการเมือง
เสรีภาพทางการเมือง (Political Liberty)
สื่อมวลชน (Mass Media)
ความหมายของสื่อมวลชน
บทบาทของสื่อมวลชน
หน้าที่ของสื่อมวลชน
กลุ่มผลประโยชน์ (Interest Group)
ความหมายของกลุ่มผลประโยชน์
ประเภทของกลุ่มผลประโยชน์
วัตถุประสงค์ของกลุ่มผลประโยชน์
พฤติกรรมของกลุ่มผลประโยชน์
มติมหาชน (Public Opinion)
ปัจจัยที่เอื้อต่อมติมหาชน
ความสำคัญของมติมหาชน
อุปสรรคของการแสดงมติมหาชน

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย