สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

การเมืองการปกครอง

ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม

ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ

ประเภทของลัทธิการเมือง

ลัทธิการเมืองเท่าที่มีอยู่ในปัจจุบันนี้ บางลัทธิก็มีเนื้อหาไปในทางการเมืองการปกครองโดยเฉพาะ หรือเน้นไปในแนวของการเมืองเป็นพิเศษ เช่น ลัทธิอนาธิปไตย ลัทธิเสรีนิยมหรือลัทธิ ฟาสซีสม์ เป็นต้น แต่ลัทธิการเมืองบางลัทธิไม่อาจจะถือได้ว่าเป็นลัทธิการเมืองแท้ ๆ หรือลัทธิการเมือง “บริสุทธิ์” เพราะมีสาระที่เกี่ยวข้องกับลักษณะอย่างอื่นของสังคมด้วย เช่น เกี่ยวข้องกับลักษณะทางเศรษฐกิจหรือลักษณะทางสังคม แต่ถ้าแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ แล้วจะได้ 2 ประเภท ดังนี้

1. ระบบประชาธิปไตย (Democracy System)
2. ระบบเผด็จการ (Dictatorship System)

แนวความคิดทางการเมือง
ประเภทของลัทธิการเมือง
ระบบประชาธิปไตย
หลักการของระบอบประชาธิปไตย
องค์สามของประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นอุดมคติ
ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นระบบการเมืองการปกครอง
ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นวิถีชีวิต
ระบบเผด็จการ
ลักษณะสำคัญของระบบเผด็จการเบ็ดเสร็จ
แนวความคิดทางเศรษฐกิจ
ประเภทของลัทธิเศรษฐกิจ
หลักสำคัญของระบบทุนนิยม
แบบสังคมนิยม (Socialism)
หลักสำคัญของระบบสังคมนิยม
ประเภทของระบบสังคมนิยม

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย