สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม
การเมืองการปกครองไทย
รัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยของไทย
รัฐสภาถือเป็นสถาบันการเมืองการปกครองที่ก่อให้เกิดกระบวนการการเมืองการปกครอง เป็นสถาบันที่มีอำนาจและหน้าที่เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายทางการเมืองการปกครอง พิจารณาร่างพระราชบัญญัติต่าง ๆ ออกมาบังคับใช้ในประเทศ แต่งตั้งอนุมัติควบคุมฝ่ายบริหารให้เป็นไปตามนโยบายที่กำหนดขึ้น ผู้ซึ่งทำหน้าที่ในรัฐสภาคือ สมาชิกสภามี 2 ประเภท ประเภทที่หนึ่งได้รับการเลือกตั้งจากประชาชนของประเทศ เรียกว่า ผู้แทนราษฎร ประเภทที่สองได้รับการแต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์หรือประมุขของประเทศ เรียกว่า วุฒิสมาชิก และสมาชิกประเภทที่หนึ่งนั้น แบ่งออกเป็น 2 ฝ่ายคือ ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร สมาชิกของสภาเหล่านี้จะเป็นผู้ตรา ผู้กำหนด ผู้พิจารณามาตรการ นโยบายการบริหารประเทศ โดยออกมาในรูปพระราชบัญญัติ
ประเทศไทยเราเริ่มใช้การปกครองในระบอบรัฐสภาหลังจากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อปี 2475 จนถึงปัจจุบัน ได้มีเหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นที่เป็นผลกระทบต่อระบบการปกครองแบบรัฐสภา ไม่ว่าจะเป็นเหตุการณ์ปฏิวัติ รัฐประหาร การยึดอำนาจล้วนแต่มีผลกระทบ ทำให้มีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายรัฐธรรมนูญอันเป็นหลักในการบริหารงานในสถาบันรัฐสภา และเป็นผลให้รัฐสภามีองค์กรโครงสร้างผิดแผกแตกต่างไปจากเดิม
การปกครองไทยสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
สมัยกรุงสุโขทัย
ลักษณะการปกครอง
พ่อขุนรามคำแหงปรับปรุงการปกครอง
สมัยกรุงศรีอยุธยา
ลักษณะการปกครอง
การจัดการปกครองสมัยพระบรมไตรโลกนาถ
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
การปกครองสมัยรัชกาลที่ 5
การปฏิรูปการปกครองส่วนกลาง
การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น
การปกครองสมัยรัชกาลที่ 6
การปรับปรุงโครงสร้างการปกครอง
การปกครองรัชกาลที่ 7
ทรงปรับปรุงการปกครอง
การปกครองในสมัยประชาธิปไตย
กระแสความคิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
มูลเหตุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
หลัก 6 ประการของคณะราษฎร
เค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์ธรรมนูญ
พื้นฐานประชาธิปไตยของคณะราษฎร
รัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยของไทย
รัฐสภาไทย
บทบาทและอำนาจหน้าที่รัฐสภา
การใช้อำนาจของรัฐสภา
การเสนอร่างพระราชบัญญัติ
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของวุฒิสภา
การเสนอญัตติ
การตั้งกระทู้ถามและตอบกระทู้ถาม
การปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกรรมาธิการ
หลักประกันของสมาชิกรัฐสภา
ประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2521
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
หน้าที่ของชนชาวไทย
แนวนโยบายแห่งรัฐ
รัฐสภา
วุฒิสภา
สภาผู้แทนราษฎร
สมัยประชุมสามัญของรัฐสภา
ที่มาของคณะรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรีกับอำนาจทางการเมือง
คณะรัฐมนตรีกับฝ่ายบริหาร
การสิ้นสุดของคณะรัฐมนตรี
การปกครองส่วนท้องถิ่น
ตุลาการรัฐธรรมนูญ
รัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย