สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

การเมืองการปกครอง

ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม

การเมืองการปกครองไทย

รัฐสภาไทย

การปกครองระบอบประชาธิปไตยนั้น รัฐสภาเป็นองค์การสำคัญที่ทำหน้าที่ทางนิติบัญญัติโดยการตรากฎหมาย เพื่อใช้บริหารราชการแผ่นดิน ทำหน้าที่ควบคุมตรวจตราดูแลการบริหารงานของรัฐบาลให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อสภา รูปแบบของรัฐสภาไทยนับแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองตั้งแต่ พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา ปรากฏว่าองค์ประกอบที่สำคัญของรัฐสภาขึ้นอยู่กับรูปแบบของรัฐสภาที่จะเป็นรัฐสภาเดียวหรือสองสภา ทั้งนี้รวมทั้งที่มาของสมาชิกรัฐสภา อำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบและความเป็นอิสระของรัฐสภา ซึ่งจะช่วยทำให้รัฐสภาสามารถเป็นองค์การบริหารที่ทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประเทศไทยเราได้ใช้ระบบรัฐสภามาแล้วทั้งสองระบบ คือ ระบบรัฐสภาเดียว และระบบรัฐสภาสองสภา แต่ละระบบมีลักษณะและข้อจำกัดที่แตกต่างกันออกไปดังนี้

1. รัฐสภาแบบสภาเดียว ลักษณะที่สำคัญของรัฐสภาแบบสภาเดียวคือ มีสมาชิกปฏิบัติหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติเพียงสภาเดียว เช่น สภานิติบัญญัติแห่งชาติ แต่สภาเดียวของไทยแยกย่อยออกไปอีกเป็น

1.1 สภาเดียวที่ประกอบด้วยสมาชิก 2 ประเภท และสมาชิก 2 ประเภทนั้นคือ สมาชิกที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง และสมาชิกที่ได้มาจากการแต่งตั้ง ดังจะเห็นได้จากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475

1.2 สภาเดียวที่ประกอบด้วยสมาชิกประเภทเดียว คือมีเฉพาะสมาชิกที่มาจากการแต่งตั้งเท่านั้น เช่น สภานิติบัญญัติแห่งชาติที่ได้แต่งตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย พุทธศักราช 2515

2. รัฐสภาแบบสองสภา ลักษณะสำคัญของรัฐสภาแบบสองสภานั้นประกอบด้วยสมาชิก 2 ประเภท คือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับสมาชิกวุฒิสภาหรือสมาชิกพฤฒสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาจากการเลือกตั้ง ส่วนสมาชิกวุฒิสภามาจากการแต่งตั้ง

 

การปกครองไทยสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
สมัยกรุงสุโขทัย
ลักษณะการปกครอง
พ่อขุนรามคำแหงปรับปรุงการปกครอง
สมัยกรุงศรีอยุธยา
ลักษณะการปกครอง
การจัดการปกครองสมัยพระบรมไตรโลกนาถ
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
การปกครองสมัยรัชกาลที่ 5
การปฏิรูปการปกครองส่วนกลาง
การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น
การปกครองสมัยรัชกาลที่ 6
การปรับปรุงโครงสร้างการปกครอง
การปกครองรัชกาลที่ 7
ทรงปรับปรุงการปกครอง
การปกครองในสมัยประชาธิปไตย
กระแสความคิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
มูลเหตุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
หลัก 6 ประการของคณะราษฎร
เค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์ธรรมนูญ
พื้นฐานประชาธิปไตยของคณะราษฎร
รัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยของไทย
รัฐสภาไทย
บทบาทและอำนาจหน้าที่รัฐสภา
การใช้อำนาจของรัฐสภา
การเสนอร่างพระราชบัญญัติ
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของวุฒิสภา
การเสนอญัตติ
การตั้งกระทู้ถามและตอบกระทู้ถาม
การปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกรรมาธิการ
หลักประกันของสมาชิกรัฐสภา
ประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2521
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
หน้าที่ของชนชาวไทย
แนวนโยบายแห่งรัฐ
รัฐสภา
วุฒิสภา
สภาผู้แทนราษฎร
สมัยประชุมสามัญของรัฐสภา
ที่มาของคณะรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรีกับอำนาจทางการเมือง
คณะรัฐมนตรีกับฝ่ายบริหาร
การสิ้นสุดของคณะรัฐมนตรี
การปกครองส่วนท้องถิ่น
ตุลาการรัฐธรรมนูญ
รัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย