สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม
การเมืองการปกครองไทย
คณะรัฐมนตรีกับฝ่ายบริหาร
รัฐธรรมนูญของประเทศไทยฉบับพุทธศักราช 2521 ได้บัญญัติว่า คณะรัฐมนตรีประกอบด้วย นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจำนวนหนึ่งไม่เกิน 44 คน มีอำนาจหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดิน ภายใต้บทบัญญัตินี้ จะเห็นได้ว่าคณะรัฐมนตรีในฐานะที่เป็นคณะรัฐบาลจะต้องมีความรับผิดชอบร่วมกันต่อการปกครองและการบริหารราชการแผ่นดิน ลักษณะตามนัยดังกล่าวนี้ทำให้คณะรัฐมนตรีของไทยมีอำนาจหน้าที่คล้ายระบบคณะรัฐมนตรีของอังกฤษ ซึ่งรัฐมนตรีที่จะบริหารราชการกระทรวงต่าง ๆ แต่ละท่านนั้นจะต้องรับผิดชอบต่อการบริหารงานในกระทรวงนั้นโดยเฉพาะ แต่รัฐมนตรีทุกคนไม่ว่าจะเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวง หรือรัฐมนตรีช่วยก็ตาม จะต้องมีความรับผิดชอบร่วมกันต่อนโยบายของรัฐบาล โดยนัยนี้จึงถือได้ว่าหลักการนี้ยังคงนำมาใช้อยู่
คณะรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน จะเห็นได้ว่าได้พยายามที่จะแยกข้าราชการประจำกับข้าราชการการเมืองออกจากกันโดยเด็ดขาด และมิเพียงแต่รัฐมนตรีเท่านั้นที่จะพ้นจากตำแหน่งข้าราชการประจำเมื่อมาดำรงตำแหน่งในทางการเมือง แต่รวมทั้งข้าราชการประจำอื่น ๆ ด้วย ที่เมื่อจะมาดำรงตำแหน่งทางการเมืองแล้วจะต้องพ้นจากตำแหน่งข้าราชการประจำ ในประการสำคัญที่น่าสังเกตคือว่า รัฐมนตรีจะดำรงตำแหน่งหรือกระทำการใด ๆ ที่ห้ามไว้มิให้สมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดำรงมิได้ เว้นแต่ตำแหน่งที่ต้องดำรงตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย นอกจากนี้รัฐมนตรีจะเป็นผู้จัดการ กรรมการ ที่ปรึกษา ตัวแทนหรือลูกจ้างของบุคคล ห้างหุ้นส่วน บริษัทหรือองค์การใหญ่ ๆ ซึ่งดำเนินธุรกิจเพื่อค้ากำไรก็มิได้ด้วย รัฐมนตรีต้องแสดงทรัพย์สินและหนี้สินของตนต่อประธานสภาตามรายการ วิธีการ และกำหนดเวลาที่กฎหมายบัญญัติ
การปกครองไทยสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
สมัยกรุงสุโขทัย
ลักษณะการปกครอง
พ่อขุนรามคำแหงปรับปรุงการปกครอง
สมัยกรุงศรีอยุธยา
ลักษณะการปกครอง
การจัดการปกครองสมัยพระบรมไตรโลกนาถ
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
การปกครองสมัยรัชกาลที่ 5
การปฏิรูปการปกครองส่วนกลาง
การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น
การปกครองสมัยรัชกาลที่ 6
การปรับปรุงโครงสร้างการปกครอง
การปกครองรัชกาลที่ 7
ทรงปรับปรุงการปกครอง
การปกครองในสมัยประชาธิปไตย
กระแสความคิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
มูลเหตุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
หลัก 6 ประการของคณะราษฎร
เค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์ธรรมนูญ
พื้นฐานประชาธิปไตยของคณะราษฎร
รัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยของไทย
รัฐสภาไทย
บทบาทและอำนาจหน้าที่รัฐสภา
การใช้อำนาจของรัฐสภา
การเสนอร่างพระราชบัญญัติ
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของวุฒิสภา
การเสนอญัตติ
การตั้งกระทู้ถามและตอบกระทู้ถาม
การปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกรรมาธิการ
หลักประกันของสมาชิกรัฐสภา
ประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2521
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
หน้าที่ของชนชาวไทย
แนวนโยบายแห่งรัฐ
รัฐสภา
วุฒิสภา
สภาผู้แทนราษฎร
สมัยประชุมสามัญของรัฐสภา
ที่มาของคณะรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรีกับอำนาจทางการเมือง
คณะรัฐมนตรีกับฝ่ายบริหาร
การสิ้นสุดของคณะรัฐมนตรี
การปกครองส่วนท้องถิ่น
ตุลาการรัฐธรรมนูญ
รัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย