สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
สภาวการณ์หลังสงคราม
เมื่อประเทศไทยได้ประกาศสันติภาพ ในวันที่ 16 สิงหาคม 2488 มีใจความสำคัญว่า การประกาศสงครามต่ออังกฤษและสหรัฐ ฯ เป็นโมฆะ สหรัฐ ฯ ก็ได้ให้การรับรองการประกาศสันติภาพของไทยทันที แต่อังกฤษยังคงบ่ายเบี่ยง เพราะหวังผลประโยชน์บางประการ และได้หาทางบีบบังคับไทยทั้งด้านการเมือง การทหาร และ เศรษฐกิจ
ในตอนปลายสงคราม สภาวะทางเศรษฐกิจของไทยเสื่อมโทรมลงมาก ไทยต้องยึดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราของไทยเทียบกับเงินเยนของญี่ปุ่น 1 บาท ต่อ 1 เยน ทำให้ค่าเงินบาทลดลงถึงร้อยละ 36 สินค้าที่จำเป็นต่อการครองชีพ มีราคาแพงและขาดแคลน เกิดตลาดมืดค้าของเถื่อน รัฐบาลได้พยายามแก้ไขปัญหาโดยการจัดตั้ง องค์การสรรพาหาร ออกบัตรปันส่วนแก่ข้าราชการและประชาชน เพื่อซื้อสิ้นค้าที่เป็นอาหารประจำวันมี ข้าวสาร น้ำตาล หมู เนื้อ แต่ก็ได้เป็นเพียงการบรรเทาความเดือดร้อนได้ส่วนหนึ่ง
การเตรียมการของไทย
การดำเนินการเจรจาทางการทูต
การปฎิบัติของสหรัฐและอังกฤษ
การเตรียมการต่อสู้ภายในประเทศ
การดำเนินการของรัฐบาลไทย เมื่อญี่ปุ่นขอเดินทัพผ่านไทย
สถานการณ์ทางทหารและการเมือง
จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีสั่งการ
ข้อตกลงระหว่างผู้แทนฝ่ายไทยและญี่ปุ่น
เหตุการณ์ขั้นต่อมา และข้อเรียกร้องของญี่ปุ่น
การร่วมวงศ์ไพบูลย์กับญี่ปุ่น
การประกาศสงคราม
การประกาศสงครามต่อบริเตนใหญ่ และสหรัฐอเมริกา
การดำเนินการของฝ่ายสัมพันธมิตร
การดำเนินสงคราม
การปฏิบัติการของกองทัพพายัพ
การจัดตั้งกองทัพพายัพ
การปกครองสหรัฐไทยเดิม
การปฏิบัติการทางอากาศ
การดำเนินการของฝ่ายไทยก่อนสงครามยุติ
ไทยประกาศสันติภาพ
ท่าทีของสัมพันธมิตรต่อไทยหลังสงครามยุติ
สภาวการณ์หลังสงคราม
การทำความตกลงสมบูรณ์แบบ
จดหมายเหตุ