เทคโนโลยี นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ วิศวกรรม เกษตรศาสตร์ >>
โรคที่สำคัญในโคนม
การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อโคนม
ยาทุกชนิดที่ถูกผลิตขึ้นจะถูกทดลองใช้และทดสอบผลก่อนจำหน่ายฉลากที่แนบมากับยาจะบ่งวิธีใช้ไว้อย่างละเอียด ยาฉีดส่วนใหญ่มักเป็นชนิดฉีดเข้ากล้ามเนื้อเพราะสะดวกในการใช้ การให้ยาวิธีนี้มีหลักการดังนี้
- ใช้อุปกรณ์ที่สะอาด เข็มและกระบอกฉีดต้องได้รับการฆ่าเชื้อมาแล้ว
- ให้ยาในขนาดที่ถูกต้อง ยาบางอย่างต้องแบ่งฉีดหลายตำแหน่ง ถ้าผู้ผลิตระบุมาว่า ห้ามฉีดเกินกี่มิลลิลิตรต่อหนึ่งตำแหน่ง เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
- ตำแหน่งที่นิยมฉีดยาเข้ากล้ามก็คือ บริเวณแผงคอ เพราะสะดวกในการบังคับสัตว์และสัตว์เคลื่อนไหว ส่วนนี้ตลอดเวลาทำให้มีการดูดซึมดี ส่วนอีกตำแหน่งหนึ่งก็คือ กล้ามเนื้อโคนขาหลัง ซึ่งตำแหน่งนี้ผู้ฉีดต้องระวังโคเตะ
- เข็มที่ใช้สำหรับการฉีดยาเข้ากล้ามโค ควรเป็นเบอร์ 18 ยาว 1 นิ้วครึ่ง เข็มต้องคมและปลายไม่เยิน
- ควรปักเข็มเข้ากล้ามอย่างรวดเร็ว อาจใช้วิธีจับเข็มด้วยนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้แล้วใช้หลังมือตบใกล้บริเวณที่จะฉีด 2-3 ครั้ง แล้วปักเข็มทันที แล้วจึงสวมกระบอกฉีดภายหลัง ดูดเบา ๆ ดูว่ามีเลือดเข้ามาในกระบอกหรือไม่ ถ้าไม่มีจึงเดินยา
»
วัคซีนโค
»
ประเภทของเวชภัณฑ์
»
ตู้ยาประจำคอกโคนม
»
การใช้ปรอทวัดไข้
»
โรค
»
โรคปอดบวมในลูกโค
»
ฝี
»
ปัสสาวะแดง
»
วัณโรค
»
โรคแท้งติดต่อ(บรูเซลโลซีส)
»
โรคปากและเท้าเปื่อย
»
โรคคอบวมหรือโรคคอดัง
»
โรคกาลีหรือโรคแอนแทรกซ์
»
โรคเต้านมอักเสบ
»
โรคไข้น้ำนม
»
หูดโค
»
ขี้กลากโค
»
ท้องอืดในโค
»
พยาธิภายในของโคนม
»
พยาธิตัวกลมในทางเดินอาหาร
»
พยาธิตัวตืด
»
พยาธิใบไม้ในตับ
»
หน่วยงานที่ให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรคพยาธิ
»
การเก็บอุจจาระเพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
»
การให้ยาโคนม
»
การให้ยาทางปากแก่โค
» การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อโคนม
»
การฉีดยาเข้าใต้ผิวหนัง
»
การให้ยาภายนอก
»
การให้ยาสอดเต้านม
»
การทำลายซากโค