เทคโนโลยี นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ วิศวกรรม เกษตรศาสตร์ >>

ข้อมูลการเกษตร

ปศุสัตว์

โรคที่สำคัญในโคนม

การฉีดยาเข้าใต้ผิวหนัง

สารที่ใช้ให้ทางผิวหนังส่วนใหญ่เป็นพวกวัคซีน ยาซึ่งค่อนข้างระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและยาที่ผู้ผลิตต้องการให้ร่างกายดูดซึมไปใช้อย่างช้า ๆ เกษตรกรจึงควรศึกษาและปรึกษาสัตวแพทย์ก่อนใช้ยาต่าง ๆ เพื่อความปลอดภัยของโค

หลักการใช้ยาวิธีนี้ คือ

  1. ใช้อุปกรณ์ที่สะอาด เช่นเดียวกับการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
  2. ใช้ยาให้ถูกขนาด
  3. ตำแหน่งที่นิยมฉีดยาเข้าใต้ผิวหนังก็คือ บริเวณแผงคอ ด้วยเหตุผลเช่นเดียวกับการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อใช้มือดึงผิวหนังขึ้นก่อนแทงเข็ม
  4. เข็มที่ใช้ควรเป็นเบอร์ 18 ความยาว 1 นิ้ว เข็มต้องคม สะอาดและปลายไม่เยิน
  5. ก่อนเดินน้ำยาควรแน่ใจว่า ปลายเข็มอยู่ในชั้นใต้ผิวหนังจริง เพราะยาบางชนิดถ้าฉีดพลาดเข้ากล้ามเนื้ออาจเกิดความระคายเคืองขึ้นได้ถ้าฉีดเข้าใต้หนังจริงจะเดินน้ำยาได้เบามือ
  6. ระวังน้ำยารั่วไหลกลับออกมา การคลึงบริเวณที่ฉีดจะช่วยให้ยากระจายได้ดีขึ้น

» วัคซีนโค
» ประเภทของเวชภัณฑ์
» ตู้ยาประจำคอกโคนม
» การใช้ปรอทวัดไข้
» โรค
» โรคปอดบวมในลูกโค
» ฝี
» ปัสสาวะแดง
» วัณโรค
» โรคแท้งติดต่อ(บรูเซลโลซีส)
» โรคปากและเท้าเปื่อย
» โรคคอบวมหรือโรคคอดัง
» โรคกาลีหรือโรคแอนแทรกซ์
» โรคเต้านมอักเสบ
» โรคไข้น้ำนม
» หูดโค
» ขี้กลากโค
» ท้องอืดในโค
» พยาธิภายในของโคนม
» พยาธิตัวกลมในทางเดินอาหาร
» พยาธิตัวตืด
» พยาธิใบไม้ในตับ
» หน่วยงานที่ให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรคพยาธิ
» การเก็บอุจจาระเพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
» การให้ยาโคนม
» การให้ยาทางปากแก่โค
» การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อโคนม
» การฉีดยาเข้าใต้ผิวหนัง
» การให้ยาภายนอก
» การให้ยาสอดเต้านม
» การทำลายซากโค

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย