เทคโนโลยี นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ วิศวกรรม เกษตรศาสตร์ >>
กล้วย นานาชนิด
กรมส่งเสริมการเกษตร
กล้วยไข่ทองเงย
ชื่อสามัญ ทองเงย
ชื่อพ้อง ทองเงย
ชื่อวิทยาศาสตร์ Musa (AA group) "Kluai Tong Ngey"
แหล่งที่พบ ภาคใต้ จังหวัด นครศรีธรรมราช
ลักษณะทั่วไป
ต้น ลำต้นสูง 2. 5 - 3.0 เมตร กาบต้นนอกมี ประดำชัดเจน กาบต้นสีเขียวอ่อน
ใบ ก้านใบสีเขียวอมเหลือง ร่องใบเปิด ใบสีเขียวเข้ม
ดอก สีแดงอมม่วง กาบปลีเปิดม้วนขึ้น
ผล ก้านเครือมีขน เครือหนึ่งมีประมาณ 10 หวี ผลสีเขียวเข้ม เมื่อสุกสีเหลืองทอง
หวีเรียงเป็นระเบียบ เนื้อในสีขาว รสหวานเย็น ผลลักษณะคล้ายกล้วยไข่ แต่ใหญ่กว่า
ปลายผลเรียวแหลมชี้ขึ้น ชาวบ้านเรียกตามลักษณะผลคือ ผลคล้ายกล้วยไข่ เลยตั้งชื่อว่า
ไข่ทองเงย
การใช้ประโยชน์ ผลใช้รับประทานสด ทำกล้วยทอด
»
กล้วยกุ้งเขียว
»
กล้วยหอมเขียว
»
กล้วยไข่โบราณ
»
กล้วยน้ำฝาด
»
กล้วยทองร่วง
»
กล้วยหอมจันทน์
»
กล้วยน้ำว้าเขียว
»
กล้วยพม่าแหกคุก
»
กล้วยเทพรส
»
กล้วยรุ่งอรุณ
»
กล้วยสามเดือน
»
กล้วยป่ามาเลเซีย
»
กล้วยไข่พระตะบอง
»
กล้วยหอมเขียวค่อม
»
กล้วยงาช้าง
»
กล้วยนิ้วจรเข้
»
กล้วยน้ำไท
»
กล้วยตีบ
»
กล้วยน้ำว้าค่อน
»
กล้วยส้ม
»
กล้วยนวล
»
กล้วยเล็บช้างกุด
»
กล้วยหลวง
»
กล้วยหวานทับแม้ว
»
กล้วยครั่ง
»
กล้วยหอมทอง
»
กล้วยนมสวรรค์
»
กล้วยนิ้วมือนาง
»
กล้วยน้ำนม
»
กล้วยนมหมี
»
กล้วยน้ำว้าดำ
»
กล้วยหักมุก
»
กล้วยบัวสีชมพู
»
กล้วยหก
»
กล้วยขี้แมวหาดใหญ่
»
กล้วยนาก
»
กล้วยกล้าย
»
กล้วยนมสาว
»
กล้วยไข่
»
กล้วยเล็บมือนาง
»
กล้วยนางพญา
»
กล้วยน้ำว้านวล
»
กล้วยหิน
»
กล้วยบัวสีส้ม
»
กล้วยมัน
»
กล้วยป่าใบกระ
»
กล้วยหอมแกรนด์เนน
»
กล้วยขม
»
กล้วยน้ำกาบดำ
» กล้วยไข่ทองเงย
»
กล้วยสา
»
กล้วยน้ำว้า
»
กล้วยน้ำว้าลูกไส้ดำ
»
กล้วยตานี
»
กล้วยผา
»
กล้วยไร่
»
กล้วยป่าใบไม่กระ