เทคโนโลยี นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ วิศวกรรม เกษตรศาสตร์ >>
การปลูกพืชผักระบบไฮโดรโปนิกส์
จากเอกสารวิชาการ เรื่อง การปลูกพืชผักระบบไฮโดรโปนิกส์
จัดทำเอกสารโดย นางสาวขนิษฐา พงษ์ปรีชา สำนักงานส่งเสริมการเกษตรภาคตะวันตก
จังหวัดชลบุรี
การปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์ในภาคตะวันตก
แม้ว่าการปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์ในภาคตะวันตกจะเริ่มมาตั้งแต่ปี 2530 ที่นาริตะฟาร์ม แต่เพิ่งจะมีการตื่นตัวอย่างจริงจังในระยะ 5 ปีที่ผ่านมา อาจเนื่องมาจากความต้องการบริโภคผลผลิตที่มีคุณภาพและปลอดภัยจากสารเคมี การดำเนินการปลูกพืชด้วยระบบนี้ในภาคตะวันตกมีทั้งการศึกษาวิจัยและการผลิตพืชผักเชิงพานิชย์ ในบทนี้จะกล่าวถึงการศึกษาวิจัยที่ดำเนินการเสร็จสิ้นมีการรายงานผลแล้ว และการผลิตพืชเชิงพาณิชย์ที่ประสบความสำเร็จมีการขยายผลไปยังเกษตรกรรายอื่นๆ ในจังหวัดเดียวกันและจังหวัดใกล้เคียง
»
ประวัติความเป็นมา
»
การปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์ในต่างประเทศ
»
การปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์ในประเทศ
»
ข้อดีและข้อเสียของการปลูกพืชด้วยระบบไฮโดรโปรนิกส์
»
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชที่ปลูกด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์
»
ปัจจัยสำคัญที่สุดที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
»
เทคนิคการปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์
»
ระบบการปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์
»
สารละลายธาตุอาหาร
»
การใช้เครื่อง EC มิเตอร์
»
วัสดุและภาชนะปลูก
» การปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์ในภาคตะวันตก
»
การศึกษาวิจัย
»
การผลิตพืชผักเชิงพาณิชย์
»
เงื่อนไขในการผลิตพืชแบบไฮโดรโปนิกส์เชิงพาณิชย์
»
ต้นทุน-ผลตอบแทน
»
การตลาด
»
ความรู้ของเกษตรกร
»
ผู้บริโภคและผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม
»
ประโยชน์ของการปลูกพืชระบบไฮโดรโปนิกส์ต่อการเกษตรไทยในอนาคต