สุขภาพ ความงาม อาหารและยา สมุนไพร สาระน่ารู้ >>

การแพทย์แผนโบราณ

เภสัชวัตถุ

สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน

» กระเทียม » กระวาน » กระเจี๊ยบแดง » กะทือ » กระชาย » กะเพรา
» กล้วยน้ำว้า » กานพลู » ข่า » ขิง » ขลู่ » ขมิ้น » ขี้เหล็ก » คูน » ชุมเห็ดเทศ
» ชุมเห็ดไทย » ดีปลี » ตำลึง » ตะไคร้ » เทียนบ้าน » ทองพันชั่ง » ทับทิม
» น้อยหน่า » บอระเพ็ด » บัวบก » ปลาไหลเผือก » ฝรั่ง » ผักบุ้งทะเล » เพกา
» พญายอ » พลู » ไพล » ฟักทอง » ฟ้าทลายโจร » มะเกลือ » มะขาม
» มะขามแขก » มะคำดีควาย » มะนาว » มะพร้าว » มะแว้งเครือ » มะแว้งต้น
» มะหาด » มังคุด » ยอ » ย่านาง » เร่ว » เล็บมือนาง » ว่านหางจระเข้
» สะแก » สับปะรด » เสลดพังพอน » สีเสียดเหนือ » หญ้าคา
» หญ้าหนวดแมว » แห้วหมู » อ้อยแดง

มะคำดีควาย

ชื่อท้องถิ่น ชะแช ซะเหบ่เด (กะเหรี่ยง – แม่ฮ่องสอน) , ประคำดีควาย (ภาคกลาง ภาคใต้) , มะชัก ส้มป่อยแถม (ภาคเหนือ)

ลักษณะของพืช มะคำดีควายเป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ใบใหญ่ติดกับลำต้นแบบสลับ ประกอบด้วยใบย่อยรูปใบเรียวยาว หรือขอบใบค่อนข้างขนาดกัน ปลายและโคนใบแหลม เนื้อใบ 2 ข้างไม่เท่ากัน ดอกเล็กสีขาวอมเหลือหรืออมเขียว ดอกเป็นช่อยาว ผลค่อนข้างกลมสีส้ม

ส่วนที่ใช้เป็นยา ผลแก่

ช่วงเวลาที่เก็บเป็นยา เก็บช่วงผลแก่ และตากแดดจนแห้ง

รสและสรรพคุณยาไทย รสขม แก้กาฬภายใน แก้พิษไข้ ดับพิษร้อน ลูกต้มแล้วเกิดฟอง สุมหัวเด็ก แก้หวัด แก้รังแค ใช้ซักผ้าและสระผมได้

วิธีใช้ ผลมะคำดีควาย ใช้รักษาชันตุที่หัวเด็กได้ โดยเอาผลมาประมาณ 5 ผล แล้วทุบพอแตก ต้มกับน้ำประมาณ 1 ถ้วย ทาที่หนังศีรษะ บริเวณที่เป็นวันละ 2 ครั้ง เช้า – เย็น จนกว่าจะหาย (ระวังอย่าให้เข้าตาจะทำให้แสบตา)

»» หลักในการพิจารณาตัวยา 5 ประการ
»» พืชวัตถุ
»» สัตว์วัตถุ
»» ธาตุวัตถุ
»» ตัวยาเรียกได้หลายชื่อ
»» ตัวยาที่มีสรรพคุณใกล้เคียงกัน
»» การเก็บยา
»» ตัวยาประจำธาตุ
»» สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
»» สมุนไพรที่เป็นพืชเศรษฐกิจ
»» สีผสมอาการจากธรรมชาติ

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย