สุขภาพ ความงาม อาหารและยา สมุนไพร สาระน่ารู้ >>

การแพทย์แผนโบราณ

เภสัชวัตถุ

สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน

» กระเทียม » กระวาน » กระเจี๊ยบแดง » กะทือ » กระชาย » กะเพรา
» กล้วยน้ำว้า » กานพลู » ข่า » ขิง » ขลู่ » ขมิ้น » ขี้เหล็ก » คูน » ชุมเห็ดเทศ
» ชุมเห็ดไทย » ดีปลี » ตำลึง » ตะไคร้ » เทียนบ้าน » ทองพันชั่ง » ทับทิม
» น้อยหน่า » บอระเพ็ด » บัวบก » ปลาไหลเผือก » ฝรั่ง » ผักบุ้งทะเล » เพกา
» พญายอ » พลู » ไพล » ฟักทอง » ฟ้าทลายโจร » มะเกลือ » มะขาม
» มะขามแขก » มะคำดีควาย » มะนาว » มะพร้าว » มะแว้งเครือ » มะแว้งต้น
» มะหาด » มังคุด » ยอ » ย่านาง » เร่ว » เล็บมือนาง » ว่านหางจระเข้
» สะแก » สับปะรด » เสลดพังพอน » สีเสียดเหนือ » หญ้าคา
» หญ้าหนวดแมว » แห้วหมู » อ้อยแดง

เล็บมือนาง

ชื่อท้องถิ่น จะมั่ง , จ๊ามั่ง , มะจีมั่ง (ภาคเหนือ) , ไท้หม่อง (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน)

ลักษณะของพืช เล็บมือนางเป็นไม้เลื้อย เถาแก่เป็นไม้เนื้อแข็ง ใบรูปรีหรือรูปไข่ ปลายแหลม โคนใบมนดอกเป็บช่อสีขาว แล้วค่อยๆเปลี่ยนเป็นสีชมพู มีกลิ่นหอม ผลสีน้ำตาลแดงเป็นมัน มี 5 พู

ส่วนที่ใช้เป็นยา เมล็ด

ส่วนเวลาที่เก็บเป็นยา เก็บเมล็ดแก่ช่วงที่เป็นสีน้ำตาล

รสและสรรพคุณยาไทย รสเอียน เบื่อเล็กน้อย ใช้พยาธิและตานทราง

วิธีใช้ เมล็ดเล็บมือนาง ใช้ถ่ายพยาธิไส้เดือน สำหรับเด็กใช้ 2 – 3 เมล็ด (หนัก 5 – 6 กรัม) ผู้ใหญ่ใช้ 5 – 7 เมล็ด (หนัก 10 - 15) ทุบพอแตก ต้มเอาน้ำดื่มหรือหั่นทอดกับไข่รับปราทาน

»» หลักในการพิจารณาตัวยา 5 ประการ
»» พืชวัตถุ
»» สัตว์วัตถุ
»» ธาตุวัตถุ
»» ตัวยาเรียกได้หลายชื่อ
»» ตัวยาที่มีสรรพคุณใกล้เคียงกัน
»» การเก็บยา
»» ตัวยาประจำธาตุ
»» สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
»» สมุนไพรที่เป็นพืชเศรษฐกิจ
»» สีผสมอาการจากธรรมชาติ

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย