สุขภาพ ความงาม อาหารและยา สมุนไพร สาระน่ารู้ >>

การแพทย์แผนโบราณ

เภสัชวัตถุ

สีผสมอาการจากธรรมชาติ

» กระเจี๊ยบแดง
» ขมิ้น
» คำฝอย
» คำแสด
» เตย
» ฝาง
» อัญชัน

กระเจี๊ยบแดง

ชื่อท้องถิ่น กระเจี๊ยบ , กระเจี๊ยบเปรี้ยว (กลาง) , ผักเก็งเค็ง , ส้มเก็งเค็ง (เหนือ) , ส้มตะแลงเครง (ตาก) , ส้มปู (เงี้ยว – แม่อฮ่องสอน)

ลักษณะของพืช กระเจี๊ยบเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงราว 3 - 6 ศอก กิ่งก้านมีสีม่วงแดง ใบมีหลายแบบ ขอบใบเรียบดอกร่วงโรยไป กลีบรองดอกและกลีบเลี้ยงจะเจริญขึ้น มีสีม่วงแดงเข้มหุ้มเมล็ดไว้ภายใน ใช้เมล็ดปลูก ปลูกได้ทั่วทุกภาคของประเทศไทย

 

ส่วนที่ใช้ กลีบเลี้ยง

วิธีใช้ ใช้กลีบเลี้ยงแห้งหรือสด ต้มกับน้ำเคี่ยวให้สีแดงออกมามากที่สุด กรองเอากากที่เหลือออกโดยผ้าขาวบางบีบน้ำออกจากกลีบให้หมด น้ำกระเจี๊ยบที่ได้สีแดงเข้ม (สาร Anthocyanin) นำไปแต่งสีอาหารตามต้องการ หรือนำไปเติมน้ำตาล เกลือเล็กน้อยปรุงเป็นเครื่องดื่มก็ได้

»» หลักในการพิจารณาตัวยา 5 ประการ
»» พืชวัตถุ
»» สัตว์วัตถุ
»» ธาตุวัตถุ
»» ตัวยาเรียกได้หลายชื่อ
»» ตัวยาที่มีสรรพคุณใกล้เคียงกัน
»» การเก็บยา
»» ตัวยาประจำธาตุ
»» สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
»» สมุนไพรที่เป็นพืชเศรษฐกิจ
»» สีผสมอาการจากธรรมชาติ

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย