วรรณกรรม สุภาษิต ข้อคิด คำคม สำนวน โวหาร งานเขียน >>

กวีนิพนธ์

(ร่าย กาพย์ กลอน โคลง ฉันท์)

ฉันท์

ครุและลหุ

ครุ คือคำหรือพยางค์ที่มีเสียงหนัก ปรากฏตัวอักษรชัด โดยจะใช้ไม้หันอากาศ เป็นเครื่องหมาย

ลหุ คือคำหรือพยางค์ที่มีเสียงเบา ทั้งที่ปรากฏตัวอักษร ทั้งที่ไม่ปรากฏอักษรชัดเจน โดยจะใช้สระอุ เป็นเครื่องหมาย

คำหรือพยางค์ที่จัดเป็นครุ จำแนกเป็น ๔ ชนิด คือ สังโยคาทิครุ ๑ ทีฆครุ ๑ นิคคหิตครุ ปาทันตครุ ๑

  • สังโยคาทิครุ ได้แก่คำหรือพยางค์ที่มีตัวอักษรซ้อนหรือสะกด ได้ในมาตรา ๘ หรือแม่ทั้ง ๘ เช่น กก กด กบ กม เช่น ปราชญ์ โดด โปรด

  • ทีฆครุ ได้แก่ คำที่สระแม่ ก กา ตามหลังสระเสียงยาวทุกตัวเป็นทีฆสระ เช่น กา ฐา ปา ตา ดี ตี โต ตรู ปู

  • นิคคหิตครุ ได้แก่ อักษรที่มีสระ อัง อิง อุง ต่อท้าย เช่น กัง กิง ติง กุง ปรุง

  • ปาทันตครุ ได้แก่ คำท้ายบาทคาถา ซึ่งมีสระเสียงสั้นก็ตาม ก็ถือว่าเป็นครุได้ ปาทันตครุ ใช้เฉพาะฉันท์ภาษามคธ ส่วนฉันท์ไทยมิได้ใช้

คำหรือพยางค์ที่จัดเป็นลหุ ได้แก่ คำที่มีสระเสียงสั้น ในภาษามคธ สระเสียงสั้นมี ๓ คือ อะ อิ อุ แต่ในภาษาไทยมีลหุสระ สระเสียงเบา หรือรัสสสระ สระเสียงสั้น ดังนี้ อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เอียะ เอือะ อัวะ ฤ ฦ ซึ่งไม่มีตัวสะกด

เฉพาะสระอำ ที่ไม่มีวรรณยุกต์ ใช้เป็นลหุและครุได้ ที่มีวรรณยุกต์ ใช้เป็นครุอย่างเดียว

นอกจากนี้ ก็ บ ธ ณ จัดเป็นลหุ คำที่ออกเสียงสระออ ถ้าไม่ปรากฏตัว อ อยู่ด้วย จัดเป็นลหุ เช่น บวร (บอวร) วรชัย (วอระชัย) ถ้ามีตัว อ อยู่ด้วย เช่น พอ คอ จัดเป็นครุ

คณะฉันท์
ครุและลหุ
ศัพท์ลอย
ยัติภังค์
สัมผัส

- ตนุมัชฌาฉันท์ ๖
- กุมารลลิตาฉันท์ ๗
- จิตรปทาฉันท์ ๘
- วิชชุมมาลาฉันท์ ๘
- มาณวกฉันท์ ๘
- สมานิกาฉันท์ ๘
- ปมาณิกาฉันท์ ๘
- หลมุขีฉันท์ ๙
- ภุชคสุสุสฏาฉันท์ ๙
- สุทธวิราชิตฉันท์ ๑๐
- ปณวฉันท์ ๑๐
- รุมมวดีฉันท์ ๑๐
- มัตตาฉันท์ ๑๐
- จัมปกมาลาฉันท์ ๑๐
- มโนรมาฉันท์ ๑๐
- อุพภาสกฉันท์ ๑๐
- อุปัฏฐิตาฉันท์ ๑๑
- อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
- อุเปนทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
- อุปชาติฉันท์ ๑๑
- สุมุขีฉันท์ ๑๑
- โทธกฉันท์ ๑๑
- สาลินีฉันท์ ๑๑
- วาโตมมีฉันท์ ๑๑
- สิรีฉันท์ ๑๑
- รโถทธฏาฉันท์ ๑๑
- สวาคตาฉันท์ ๑๑
- ภัททิกาฉันท์ ๑๑
- อินทรวงศ์ฉันท์ ๑๒
- วังสัฏฐฉันท์ ๑๒
- โตฎกฉันท์ ๑๒
- ทุตวิลัมพิตฉันท์ ๑๒
- ปุฏฉันท์ ๑๒
- กุสุมวิจิตตาฉันท์ ๑๒
- ภุชงคประยาตฉันท์ ๑๒
- ปิยังวทาฉันท์ ๑๒
- ลลิตาฉันท์ ๑๒
- ปมิตักขราฉันท์ ๑๒
- อุชชลาฉันท์ ๑๒
- เวสสเทวีฉันท์ ๑๒
- ตามรสฉันท์ ๑๒
- กมลาฉันท์ ๑๒
- ปหัสสิณีฉันท์ ๑๓
- รุจิราฉันท์ ๑๓
- อปราชิตาฉันท์ ๑๔
- ปหรณกลิกาฉันท์ ๑๔
- วสันตดิลกฉันท์ ๑๔
- สสิกลาฉันท์ ๑๕
- มณิคุณนิกรฉันท์ ๑๕
- มาลินีฉันท์ ๑๕
- ปภัททกฉันท์ ๑๕
- วาณินีฉันท์ ๑๖
- ปัฐยาวัตรฉันท์ ๑๖
- จปลาวัตตฉันท์ ๑๖
- วัตตฉันท์ ๑๖
- สิขริณีฉันท์ ๑๗
- หริณีฉันท์ ๑๗
- มันทักกันตาฉันท์ ๑๗
- กุสุมิตลตาเวลลิตาฉันท์ ๑๘
- เมฆวิปผุชชิตาฉันท์ ๑๙
- สัททูลวิกกีฬิตฉันท์ ๑๙
- วุตตฉันท์ ๒๐
- เวควดีฉันท์ ๒๑
- เกตุมดีฉันท์ ๒๑
- ภัททวิราชฉันท์ ๒๑
- สัทธราฉันท์ ๒๑
- ภัททกฉันท์ ๒๒
- อุปจิตตฉันท์ ๒๒
- อาขยานกีฉันท์ ๒๒
- วิปริตาขยานกีฉันท์ ๒๒
- ทุตมัชฌาฉันท์ ๒๓
- หริณปลุตาฉันท์ ๒๓
- อปรวัตตฉันท์ ๒๓
- ปิงคลวิปุลาฉันท์ ๒๔
- ปุปผิตัคคาฉันท์ ๒๕
- ยวมดีฉันท์ ๒๕
- นการวิปุลาฉันท์ ๓๒
- ตการวิปุลาฉันท์ ๓๒
- ภการวิปุลาฉันท์ ๓๒
- รการวิปุลาฉันท์ ๓๒
- วิปรีตปัฐยาวัตรฉันท์ ๓๒
- อุปัฏฐิตาฉันท์ ๑๐
- อินทรลีลาศฉันท์ ๑๑
- อุปชาติฉันท์ ๑๒
- อินทรวงศลีลาศฉันท์ ๑๒
- เหมันตดิลกฉันท์ ๑๓
- ติลกัฏฐฉันท์ ๑๓
- อุปชาติฉันท์ ๑๓
- เหมันตลีลาศฉันท์ ๑๓
- อุปดิลกฉันท์ ๑๔
- อุปชาติฉันท์ ๑๔
- วสันตลีลาศฉันท์ ๑๔
- สุรางคนางค์ฉันท์ ๒๘

โวหาร
ประเภทกวีนิพนธ์
ฉันทลักษณ์
สระ
พยัญชนะ
เครื่องประกอบอื่น
การอ่านคำประพันธ์
ร่าย
กาพย์
กลอน
โคลง
ฉันท์

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย