ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม

หอพระไตร

» พระวินัยปิฎก

» พระสุตตันตปิฎก

» พระอภิธรรมปิฎก

» พระสูตร

พระไตรปิฎกฉบับประชาชน

พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔

เล่มที่ ๑๒

ชื่อมัชนิกาย มูลปัณณาสก์ เป็นสุตตันตะปิฎกเล่มที่ ๔

๑๒ ชื่อมัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์(เป็นสุตตันตปิฎก)

๓๙ . มหาอัสสปุรสูตร สูตรว่าด้วยคำสอนในนิคมชื่ออัสสปุระ สูตรใหญ่

๑. พระผู้มีพระภาคประทับในนิคมแห่งแคว้นอังคะชื่ออัสสปุระ .

ตรัสสอนภิกษุทั้งหลาย มีใจความว่า คนเข้าใจพวกท่านว่าเป็นสมณะ พวกท่านก็มีชื่อว่าสมณะ ปฏิญญาตนว่าสมณะ จึงควรสำเหนียกที่จักสมาทานประพฤติธรรม อันทำให้เป็นสมณะ ทำให้เป็นพราหมณ์ ซึ่งจะทำให้ชื่อเป็นจริง คำปฏิญญาเป็นจริงทำให้การบริโภคปัจจัย ๔ ของคฤหัสถ์มีผลมาก มีอานิสงส์มากแก่เขา การบวชก็จะไม่เป็นหมั่น มีผล มีกำไร.

๒. ทรงขยายความของธรรมที่ทำไห้เป็นสมณะ ทำให้เป็นพราหมณ์ โดยสอนให้สำเหนียกว่า

๑. จักมีความละอาย ความเกรงกลัว ( ต่อความชั่ว ) และมีสิ่งที่พึงทำยิ่งขึ้นไปอีก คือ
๒. จักมีความประพฤติทางกายบริสุทธิ์ เปิดเผย ไม่มีช่อง เป็นผู้สำรวม ไม่ยกตนข่มผู้อื่น เพราะความบริสุทธิ์ทางกายนั้น และมีสิ่งที่พึงทำยิ่งขึ้นไปอีก คือ
๓. จักมีความประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์ ฯลฯ
๔. จักมีความประพฤติทางใจบริสุทธิ์ ฯลฯ
๕. จักมีอาชีวะ ( การเลี้ยงชีพ ) อันบริสุทธิ์ ฯลฯ
๖. จักสำรวมอินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
๗. จักประมาณในการบริโภค
๘. จักประกอบเนือง ๆ ซึ่งความเป็นผู้ตื่น ( ไม่เห็นแก่นอนมากนัก )
๙. จักประกอบด้วยสติ ( ความระลึกได้ ) สัมปชัญญะ ( ความรู้ตัว ) และมีสิ่งที่พึงทำยิ่งขึ้นไปอีก คือ
๑๐. เสพเสนาสนะอันสงัดนั่งคู้บัลลังก์ ( นั่งขัดสมาธิ ) ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า ชำระจิตจากนีวรณ์ ๕

๓. ทรงเปรียบการละนีวรณ์ ๕ อย่าง เหมือนคนเป็นหนี้พ้นหนี้ , คนมีโรคหายจากโรค , คนถูกจองจำพ้นจากการจองจำ , คนเป็นทาสพ้นจากความเป็นทาส , คนเดินทางไกลข้ามทางกันดารได้สำเร็จ ย่อมมีความปราโมทย์โสมนัส.

๔. ทรงแสดงถึงภิกษุนั้นผู้ได้บรรลุรูปฌาน ๔ , ได้ปุพเพนิวาสานุสสติฌาณ ( ฌาณอันทำให้ระลึกชาติได้ ), ได้จุตูปปาตฌาณ ( ฌาณเห็นความตายความเกิด ) และอาสวักขยฌาณ ( ฌาณอันทำอาสวะให้สิ้น ) มีจิตหลุดพ้นจากอาสวะ รู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ชาติสิ้นแล้ว เป็นต้น เธอเห็นอริยสัจจ์ ๔ ตามเป็นจริง เหมือนคนเห็นหอยเห็นก้อนกรวดและฝูงปลาในน้ำใสฉะนั้น.

๕. ภิกษุนี้ เรียกว่าสมณะก็ได้ พราหมณ์ก็ได้ ผู้อาบน้ำแล้วก็ได้ ผู้ถึงเวทก็ได้ ผู้มีกิเลสไหลออกก็ได้ ผู้เป็นพระอริยเจ้าก็ได้ ผู้เป็นพระอรหันต์ก็ได้. แล้วทรงขยายความถ้อยคำเป็นคำ ๆ ไป คือที่ชื่อว่าสมณะ เพราะสงบอกุศลบาปธรรมแล้ว, ชื่อว่าพราหมณ์ เพราะลอยอกุศลบาปธรรมแล้ว, ชื่อว่าผู้อาบน้ำแล้ว เพราะอาบน้ำชำระอกุศลบาปธรรมแล้ว , ชื่อว่าผู้ถึงเวท ( ผู้รู้พระเวทจบ ) เพราะรู้จบบาอกอกุศลบาปธรรมแล้ว , ชื่อว่าผู้มีกิเลสไหลออก เพราะอกุศลบาปธรรมไหลออกแล้ว. ชื่อว่าพระอริยเจ้า เพราะไกลจากอกุศลบาปธรรม, ชื่อว่าพระอรหันต์ เพราะไกลจากอกุศลบาปธรรม.

<< ย้อนกลับ || หน้าถัดไป >>

- สูตรว่าด้วยเรื่องราวอันเป็นมูลแห่งธรรมทั้งปวง
- สูตรว่าด้วยการสำรวมระวังอาสวะทุกชนิด
- สูตรว่าด้วยผู้รับมรดกธรรม
- สูตรว่าด้วยความกลัวและสิ่งที่กลัว
- สูตรว่าด้วยบุคคลผู้ไม่มีกิเลส
- สูตรว่าด้วยความหวังของภิกษุ
- สูตรอุปมาด้วยผ้าที่ย้อมสี
- สูตรว่าด้วยการขัดเกลากิเลส
- สูตรว่าด้วยความเห็นชอบ
- สูตรว่าด้วยการตั้งสติ ๔ ประการ
- สูตรว่าด้วยการบรรลือสีหนาทเล็ก
- สูตรว่าด้วยการบรรลือสีหนาทใหญ่
- สูตรว่าด้วยกองทุกข์ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยกองทุกข์ สูตรเล็ก
- อนุมานสูตร สูตรว่าด้วยการอนุมาน
- เจโตขีลสูตร สูตรว่าด้วยการอนุมาน
- สูตรว่าด้วยการอยู่ป่าของภิกษุ
- สูตรว่าด้วยธรรมะที่น่าพอใจเหมือนขนมหวาน
- สูตรว่าด้วยความตรึกสองทาง
- สูตรว่าด้วยที่ตั้งของความตรึกหรือความคิด
- สูตรว่าด้วยเปรียบด้วยเลื่อย
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยงูพิษ
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยจอมปลวก
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยรถ ๗ ผลัด
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยเหยื่อหรืออาหารสัตว์
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยบ่วงดักสัตว์
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยรอยเท้าช้าง สูตรเล็ก
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยรอยเท้าช้าง สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยแก่นไม้ สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยแก่นไม้ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยป่าไม้สาละชื่อโคสิงคะ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยป่าไม้สาละชื่อโคสิงคะ สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยคนเลี้ยงโค สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยคนเลี้ยงโค สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยสัจจกนิครนถ์ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยสัจจกนิครนถ์ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยความสิ้นไปแห่งตัณหา สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยความสิ้นไปแห่งตัณหา สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยคำสอนในนิคมชื่ออัสสปุระ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในนิคมชื่ออัสสปุระ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยพราหมณ์คฤหบดีชาวบ้านสาละ
- สูตรว่าด้วยพราหมณ์คฤหบดีชาวเมืองเวรัญชา
- สูตรว่าด้วยมหาเวทัลละคือการโต้ตอบด้วยการใช้ความรู้ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยเวทัลละคือการโต้ตอบด้วยการใช้ความรู้ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยเวทัลละคือการโต้ตอบด้วยการใช้ความรู้ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยการสมาทานธรรมะ
- สูตรว่าด้วยภิกษุผู้พิจารณาสอบสวน
- สูตรว่าด้วยภิกษุชาวกรุงโกสัมพี
- สูตรว่าด้วยการเชื่อเชิญของพรหม
- สูตรว่าด้วยมารถูกคุกคาม


» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๘

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๐

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๑

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๘

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๙

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๐

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๒

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๔

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย