ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม

หอพระไตร

» พระวินัยปิฎก

» พระสุตตันตปิฎก

» พระอภิธรรมปิฎก

» พระสูตร

พระไตรปิฎกฉบับประชาชน

พระวินัยเล่มที่ ๔

ชื่อมหาวรรค (เป็นวินัยปิฎก)

สาริบุตร โมคคัลลานะออกบวช

ทรงปรับอาบัติ,อนุญาตให้ประณามและขอขมา

ครั้งนั้น สัทธิวิหาริกไม่ปฏิบัติชอบในอุปัชฌายะ เป็นที่ติเตียน จึงทรงบัญญัติพระวินัย ปรับอาบัติทุกกฏแก่สัทธิวิหาริกผู้ไม่ปฏิบัติชอบในอุปัชฌายะ.

แม้เช่นนั้น ก็ยังมีสิทธิวิหาริกที่ไม่ปฏิบัติชอบ, จึงทรงอนุญาตให้อุปัชฌายะประณาม คือไล่ลัทธิวิหาริกด้วยแจ้งให้ทราบด้วยกายหรือวาจาได้.

สัทธิวิหาริกที่ถูกไล่แล้ว ไม่ขอขมา จึงทรงอนุญาตให้ขอขมาและ ปรับอาบัติทุกกฏแก่ผู้ไม่ขอขมา.

สัทธิวิหาริกขอขมาแล้ว อุปัชฌายะไม่ยอมยกโทษให้ จึงทรงอนุญาตให้อุปัชฌายะยกโทษให้. อุปัชฌายะไม่ยกโทษให้ก็มี สัทธิวิหาริกจึงจากไปบ้าง สึกไปบ้าง ไปเข้ารีตเดียรถีย์บ้าง. ทรงทราบ จึงทรงบัญญัติพระวินัย ปรับอาบัติทุกกฏแก่อุปัชฌายะที่สัทธิวิหาริกขอขมาแล้วไม่ยอมยกโทษให้.

<< ย้อนกลับ  ||  หน้าถัดไป  >>

- ทรงอนุญาตให้มีอุปัชฌายะ
- ทรงบัญญัติอุปัชฌายวัตร
- ทรงบัญญัติสัทธิวิหาริกวัตร
- ทรงปรับอาบัติ,อนุญาตให้ประณามและขอขมา
- ทรงวางวิธีประณามให้รัดกุม
- ทรงอนุญาตการบวชเป็นการสงฆ์
- ผู้บวชเพราะเห็นแก่ท้อง
- ข้อบัญญัติเพิ่มเติมในการบวช
- ทรงอนุญาตให้มีอาจารย์
- อาจริยวัตรและอันเตวาสิกวัตร
- การประณาม,การขอขมา, การยกโทษ
- คุณสมบัติของอุปัชฌายะ ๕ อย่าง
- คุณสมบัติของอุปัชฌายะ ๖ อย่าง
- ข้อปฏิบัติต่อผู้เคยเป็นเดียรถีย์
- ห้ามบวชให้คนเป็นโรค ๕ ชนิด
- ห้ามบวชให้ข้าราชการ
- ห้ามบวชให้โจรที่มีชื่อ
- ห้ามบวชโจรที่ทำลายเครื่องพันธนาการ
- ห้ามบวชบุคคลที่ไม่สมควรอื่นอีก
- ให้บอกสงฆ์เมื่อจะโกนศีรษะคนบวช
- ห้ามบวชผู้มีอายุยังไม่ครบ ๒๐

มหาขันธกะ (หมวดใหญ่)
ทรงแสดงธรรมครั้งแรก
ทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตร
สาริบุตร โมคคัลลานะออกบวช
ข้อห้ามเกี่ยวกับสามเณร
ลักษณะที่ไม่ควรให้อุปสมบท (บวชเป็นพระ) อีก ๒๐ ประเภท
อุโบสถขันธกะ (หมวดว่าด้วยอุโบสถ)
วัสสูปนายิกาขันธกะ (หมวดวันเข้าพรรษา)
ปวารณาขันธกะ (หมวดปวารณา)


พระวินัยเล่มที่ ๑
พระวินัยเล่มที่ ๒
พระวินัยเล่มที่ ๓
พระวินัยเล่มที่ ๔
พระวินัยเล่มที่ ๕
พระวินัยเล่มที่ ๖
พระวินัยเล่มที่ ๗
พระวินัยเล่มที่ ๘

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย