ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
» พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
ชื่อมหาวรรค (เป็นวินัยปิฎก)
ข้อห้ามเกี่ยวกับสามเณร
ผ่อนผันเรื่องการถือนิสสัย
สมัยนั้น ภิกษุจะต้องถือนิสสัย (อยู่ในปกครองของอุปัชฌายะหรืออาจารย์) ตลอด ๑๐ ปี เกิดความไม่สะดวก จึงทรงผ่อนผันให้ภิกษุที่ฉลาด สามารถถือนิสสัยตลอด ๕ ปี ส่วนภิกษุผู้ไม่ฉลาด ให้ถือนิสสัยตลอดชีวิต. แล้วทรงแสดงการขาดคุณสมบัติ ๕ อย่าง รวม ๔ จุด การประกอบด้วยคุณสมบัติ ๕ อย่าง รวม ๔ ชุด ที่ภิกษุจะต้องถือนิสสัย หรือไม่ต้องถือนิสสัย.
แล้วทรงแสดงการขาดคุณสมบัติ ๖ อย่าง รวม ๔ ชุด การประกอบด้วยคุณสมบัติ ๖ อย่าง รวม ๔ ชุด ที่ภิกษุจะต้องถือนิสสัย หรือไม่ต้องถือนิสสัย.
การขาดคุณสมบัติ หรือการประกอบด้วยคุณสมบัติ มีลักษณะคล้ายคลึงกับที่กำหนดไว้สำหรับอุปัชฌายะและอาจารย์ โดยเฉพาะที่กล่าวถึงคุณสมบัติ ๖ อย่าง ข้อที่ ๖ ก็คือกำหนดว่าจะต้องมีพรรษาครบ ๕ หรือเกิน ๕.
- ผ่อนผันเรื่องการถือนิสสัย
- พระราหุลบวชเป็นสามเณร
- ให้มีสามเณรรับใช้ได้เกินรูป ๑
- ศีล ๑๐ ของสามเณร
- การลงโทษสามเณร
- เรื่องเกี่ยวกับการลงโทษ
- ห้ามชวนสามเณรของภิกษุอื่นไปอยู่ด้วย
- การให้สามเณรสึก
- เรื่องเกี่ยวกับการลงโทษ
- บุคคลที่ห้ามบวชอื่น ๆ อีก
มหาขันธกะ (หมวดใหญ่)
ทรงแสดงธรรมครั้งแรก
ทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตร
สาริบุตร โมคคัลลานะออกบวช
ข้อห้ามเกี่ยวกับสามเณร
ลักษณะที่ไม่ควรให้อุปสมบท (บวชเป็นพระ) อีก ๒๐ ประเภท
อุโบสถขันธกะ (หมวดว่าด้วยอุโบสถ)
วัสสูปนายิกาขันธกะ (หมวดวันเข้าพรรษา)
ปวารณาขันธกะ (หมวดปวารณา)
พระวินัยเล่มที่ ๑
พระวินัยเล่มที่ ๒
พระวินัยเล่มที่ ๓
พระวินัยเล่มที่ ๔
พระวินัยเล่มที่ ๕
พระวินัยเล่มที่ ๖
พระวินัยเล่มที่ ๗
พระวินัยเล่มที่ ๘